Page 180 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 17 ฉบับที่ 2
P. 180
318 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 17 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2562
Selection of Acupoints Used to Treat Angina Pectoris
*
Sineenart Sartwej , Ladapha Kim-ing, Pakjira Khattiya, Chalittaporn Doungtib
Faculty of Oriental Medicine , Chiang Rai College 199 Moo 6, Tumbon Pa O Don Chai, Amphoe Mueang,
Chiang Rai 57000, Thailand
* Corresponding author: aomily@live.com
Abstract
The purpose of this research analyzed the acupoints selection system and techniques that used in angina
pectoris treatment. Method, collecting article regarding to acupuncture in the treatment of angina pectoris, used
Chinese online database and Program Microsoft Excel, information from the articles were extracted and analyzed.
Results, the 3 most commonly used acupoints were PC6, BL15 and CV16, and the 3 most meridians were Pericar-
dium meridians, Gall bladder meridians and Ren meridians. Conclusion, acupuncture in the treatment of angina
pectoris depends mostly on selection according to meridians, mainly the pericardium meridian and PC6 was mostly
used.
Key words: acupuncture, angina pectoris, acupoint
บทนำ� เกณฑ์ในการเลือกจุดฝังเข็ม มีการประมวลผลออก
อาการเจ็บแน่นหน้าอกจากหัวใจขาดเลือด (an- มาในรูปแบบของสถิติ และนำาเอาทฤษฎีการแพทย์
gina pectoris) ถือเป็นหนึ่งในอาการสำาคัญของโรค แผนจีนมาสรุปหาหลักเกณฑ์การรักษาอาการเจ็บแน่น
หัวใจขาดเลือด (Coronary Artery Disease: CAD) หน้าอกจากหัวใจขาดเลือดด้วยวิธีฝังเข็ม เพื่อเป็น
ซึ่งปัจจุบันนับเป็นโรคที่พบบ่อยและเป็นเหตุให้มีผู้ แนวทางในการเลือกจุดรักษาอาการเจ็บแน่นหน้าอก
ป่วยเสียชีวิตจากโรคนี้เป็นอันดับต้น ๆ ของประชากร จากหัวใจขาดเลือดให้มีประสิทธิผลมากยิ่งขึ้น
[1-2]
โลก โดยแนวโน้มการเกิดโรคนี้ในประเทศไทยพบ
[3-4]
ว่ามีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ ปัจจุบันมีแพทย์จีน วิธีก�รสืบค้น
หลายท่านใช้วิธีการฝังเข็มซึ่งเป็นศาสตร์การแพทย์ สืบค้นงานวิจัยจากระบบ online database ของ
แผนจีนที่มีมานานรักษาอาการเจ็บแน่นหน้าอกจาก สาธารณรัฐประชาชนจีน ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2549
หัวใจขาดเลือด ดังนั้นการฝังเข็มจึงเป็นอีกทางเลือก จนถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2559 เป็นระยะเวลาทั้งสิ้น 10
หนึ่งสำาหรับผู้ป่วยที่มีอาการที่กล่าวมานี้ ปี โดยระบุคำาสำาคัญเพื่อใช้ในการค้นหาดังนี้ “ฝังเข็ม”
วัตถุประสงค์ของการศึกษาเพื่อเก็บรวบรวมงาน หรือ “จุดฝังเข็ม” และ “อาการเจ็บหน้าอกจากหัวใจ
วิจัยทางคลินิกที่มีการใช้จุดฝังเข็มรักษาอาการเจ็บ ขาดเลือด” ผลการค้นหาปรากฏว่าจากระบบ online
แน่นหน้าอกจากหัวใจขาดเลือดเพื่อมาวิเคราะห์หลัก database ของสาธารณรัฐประชาชนจีนมีงานวิจัยหรือ