Page 161 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 17 ฉบับที่ 2
P. 161

J Thai Trad Alt Med                                   Vol. 17  No. 2  May-Aug 2019  299




              ตารางที่ 4 รายชื่อสมุนไพรที่สำาคัญ

                                                                          จำานวนที่พบในฐานข้อมูล
                                     ชื่อสมุนไพร
                                                                        ThaiLIS            Scopus

               ขมิ้นชัน (Curcuma longa L.)                               25                  18
               บัวบก (Centella asiatica (L.) Urb.)                       18                  5
               ขิง (Zingiber officinale Roscoe)                          16                  8
               ตะไคร้ (Cymbopogon citratus (DC.) Stapf)                  14                  10

               ข่า (Alpinia galanga (L.) Willd.)                         11                  6
               รางจืด (Thunbergia laurifolia Lindl.)                     10                  8
               มะกรูด (Citrus hystrix DC.)                               10                  5
               ว่านหางจระเข้ (Aloe vera (L.) Burm.f.)                     9                  -
               กานพลู (Syzygium aromaticum (L.) Merr. & L.M.Perry)        9                  5
               ฟ้าทะลายโจร (Andrographis paniculata (Burm.f.) Nees)       9                  6
               ใบเตย (Pandanus amaryllifolius Roxb.)                      8                  -

               มะรุม (Moringa oleifera Lam.)                              8                  8
               อบเชย (Cinnamomum verum J.Presl)                           8                  -
               มะขาม (Tamarindus indica L.)                               8                  -
               อัญชัญ (Clitoria ternatea L.)                              8                  -
               ไพล (Zingiber montanum (J.Koenig) Link ex A.Dietr.)        7                  14
               พริกไทย (Piper nigrum L.)                                  7                  -
               กระเจี๊ยบแดง (Hibiscus sabdariffa L.)                      7                  -
               กระชายดำา (Kaempferia parviflora Wall. ex Baker)           5                  9
               ลูกใต้ใบ (Phyllanthus niruri L.)                           5                  8

               ทองพันชั่ง (Rhinacanthus nasutus (L.) Kurz)                -                  8
               กระเพรา (Ocimum tenuiflorum L.)                            -                  8
               กวาวเครือขาว (Pueraria mirifica Airy Shaw & Suvat.)        -                  8


              สัตว์ทดลอง ร้อยละ 20.4 การทบทวนวรรณกรรม ร้อย     พบสมุนไพรทั้งหมดจำานวน 852 ชนิด โดย 5

              ละ 18.1 การวิจัยคลินิกระยะที่ 1-4 ร้อยละ 3.8 การ  อันดับแรกคือ โสม (Panax ginseng C.A.Mey.) 17
              พัฒนาผลิตภัณฑ์ ร้อยละ 3.7 การสำารวจพฤติกรรมผู้  เรื่อง รองลงมาเป็น ขมิ้น (Curcuma longa L.) 14
              บริโภค ร้อยละ 2.3 การสำารวจผู้ให้บริการ/ผู้ผลิต ร้อย  เรื่อง ชะเอมเทศ (Glycyrrhiza glabra L.) 13 เรื่อง ขิง

              ละ 0.9 การศึกษาเชิงคุณภาพร้อยละ 0.8 แบบรายงาน  (Zingiber officinale Roscoe) 13 เรื่อง และ ชะเอม
              ผู้ป่วย/อุบัติการณ์ ร้อยละ 0.6 การวิจัยการตลาด ร้อย  จีน (Glycyrrhiza uralensis Fisch.) 11 เรื่อง รูป
              ละ 0.2 และการประเมินทางเศรษฐศาสตร์ ร้อยละ 0.2   แบบงานวิจัยตามการจัดประเภทสมุนไพรทั้ง 5 ลำาดับ
   156   157   158   159   160   161   162   163   164   165   166