Page 165 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 17 ฉบับที่ 2
P. 165

J Thai Trad Alt Med                                   Vol. 17  No. 2  May-Aug 2019  303




              ทางด้านการศึกษาในห้องปฏิบัติการ ที่เป็นการมุ่งเน้น  สำาคัญไม่น้อย (2) การใช้คำาเรียกชื่อสมุนไพรแบบ
              การหาหลักฐานทางวิทยาศาสตร์มาสนับสนุนในด้าน  ภาษาไทยภาษาอังกฤษและชื่อวิทยาศาสตร์นั้นยัง
              คุณภาพ ประสิทธิผลและความปลอดภัย และเป็นการ  มีความสับสนอยู่มาก แม้ว่าจะนำามาจากฐานข้อมูล

              ศึกษาสมุนไพรใดสมุนไพรหนึ่ง ยังขาดการรวบรวม  ที่รวบรวมผลงานตีพิมพ์ที่เป็นมาตรฐานแล้วก็ตาม
              ข้อมูลการใช้สมุนไพรทั้งหมด                  การระบุรายชื่อประเทศที่มีการบริโภคสมุนไพรสูงสุด

                   การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา  ยังขาดความน่าเชื่อถือ แม้แต่ในรายงานที่พอจะหาได้
              สถานการณ์งานวิจัยสมุนไพรไทยตามกลุ่มรูปแบบ   ชื่อ “Natural Healing and Prevention: Renewed
              งานวิจัย ร่วมกับการจัดทำาแนวทางข้อเสนอเชิง  Perspectives on Herbal and Traditional Prod-

              นโยบายต่อการวิจัยทางสมุนไพรของประเทศ โดย    ucts’’  ซึ่งเป็นผลการศึกษาโดย Euromonitor
                                                               [10]
              มุ่งหวังที่จะได้รวบรวมข้อมูลรายชื่อสมุนไพรสำาคัญ  International ยังได้กล่าวถึงเพียง 12 ประเทศ (จีน

              ต่างๆที่มีผู้นำามาศึกษา ผลของการดำาเนินการครั้งนี้จะ  สหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ เยอรมัน ไต้หวัน อิตาลี
              สามารถนำาไปตอบโจทย์ยุทธศาสตร์ข้อที่ 1 ว่าด้วยการ  อินเดีย อินโดนีเซีย เม็กซิโก บราซิล และไทย) ก็ยัง
              ส่งเสริมผลิตผลของสมุนไพรไทยที่มีศักยภาพตาม  ไม่มีข้อมูลเกี่ยวกับมูลค่าการบริโภค (3) การใช้ฐาน

              ความต้องการของตลาดทั้งในและต่างประเทศ ตาม   ข้อมูลของ ThaiLis ไม่ครอบคลุมสมุนไพรทั้งประเทศ
              แผนแม่บทแห่งชาติว่าด้วยการพัฒนาสมุนไพรไทย   เนื่องจากขาดฐานข้อมูลของ ThaiJo และสำานักงาน
              ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2560 – 2564 [1]              การวิจัยแห่งชาติ (วช.)

                   แม้ว่าที่ผ่านมาจะมีการสำารวจงานวิจัยด้านการ
              แพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้าน การแพทย์ทางเลือก               ข้อสรุป
              และสมุนไพรย้อนหลัง 10 ปี (พ.ศ. 2543 – 2552) [9]      รูปแบบงานวิจัยที่ได้จากการทบทวนวรรณกรรม

              แล้วก็ตาม แต่งานวิจัยนั้นมุ่งศึกษา รวบรวมข้อมูล  ทั้งในและต่างประเทศมีดังนี้ การศึกษาในห้องปฏิบัติ
              และแยกประเภทโจทย์วิจัยออกเป็น 5 ด้าน ได้แก่   การ การพัฒนาผลิตภัณฑ์ การศึกษาเชิงคุณภาพ

              ด้านการแพทย์แผนไทย ด้านการแพทย์พื้นบ้าน ด้าน  การวิจัยการตลาด การสำารวจพฤติกรรมผู้บริโภค
              การแพทย์ทางเลือก ด้านสมุนไพร และด้านงานวิจัย  การศึกษาในสัตว์ทดลอง การสำารวจผู้ให้บริการ/ผู้
              เชิงระบบ ไม่ได้มุ่งเน้นศึกษารายชื่อสมุนไพรหรือชนิด  ผลิต การวิจัยคลินิกระยะที่ 1-4 การประเมินผลทาง

              ของสมุนไพรอย่างชัดเจน รวมทั้งที่ผ่านมาทิศทางของ  เศรษฐศาสตร์ การทบทวนวรรณกรรม และการสำารวจ
              งานวิจัยค่อนข้างกระจัดกระจาย ส่วนใหญ่เป็นการ  ข้อมูลสมุนไพร ซึ่งพบว่างานวิจัยสมุนไพรไทยพบรูป

              วิจัยตามความถนัดของตนเอง ขาดการกำาหนดทิศทาง  แบบการศึกษาในเชิงคุณภาพ การทบทวนวรรณกรรม
              การวิจัยของประเทศ [1]                       และการศึกษาคลินิกระยะที่ 1-4 น้อย นอกจากนี้แล้ว
                   การทบทวนอย่างเป็นระบบเกี่ยวกับงานวิจัย  ความเห็นของผู้ทรงคุณวุฒิที่ได้มีการตกลงผลการ

              สมุนไพรของไทยและต่างประเทศที่ได้นำาเสนอครั้งนี้   ศึกษาร่วมกัน ให้ข้อเสนอว่า นโยบายสมุนไพรระดับ
              ยังมีข้อจำากัดอยู่มากเนื่องจาก (1) ยังไม่ครอบคลุม  ชาติยังไม่เพียงพอต่อการบูรณาการงานวิจัยเพื่อ
              เนื้อหาส่วนที่ยังไม่ได้รับการตีพิมพ์ซึ่งน่าจะมีความ  การนำาไปใช้ และให้ข้อเสนอเชิงนโยบายในการขับ
   160   161   162   163   164   165   166   167   168   169   170