Page 158 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 17 ฉบับที่ 2
P. 158
296 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 17 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2562
ภาพที่ 1 ผังแสดงการทบทวนวรรณกรรม
เรื่อง และฐานข้อมูล Scopus พบบทความวิชาการ (literature review) 11. การสำารวจข้อมูลสมุนไพร
สมุนไพรทั้งหมด 540 เรื่อง มีเอกสารที่ไม่ตรงกับความ (survey study) โดยพบว่า ทั้งสองฐานข้อมูลส่วน
ต้องการของการศึกษานี้ และไม่มีเอกสารฉบับเต็มให้ ใหญ่เป็นการวิจัยทางห้องปฏิบัติการ พบร้อยละ 41.3
อ่านอย่างละเอียด จำานวน 234 เรื่อง จึงเหลือบทความ ในฐานข้อมูล ThaiLIS และร้อยละ 55.3 ในฐาน
วิชาการที่นำามาคัดกรองด้วยชื่อเรื่องและบทคัดย่อ ข้อมูล Scopus รองลงมาเป็นงานวิจัยแบบการพัฒนา
จำานวน 306 เรื่อง คัดเอกสารที่ไม่เกี่ยวข้องออก เหลือ ผลิตภัณฑ์ร้อยละ 16.6 และการศึกษาเชิงคุณภาพ
บทความวิชาการทั้งสิ้น 235 เรื่อง ร้อยละ 10.3 (ฐานข้อมูล ThaiLIS) และในส่วนของ
รูปแบบงานวิจัยแบ่งออกเป็น 12 ชนิดได้แก่ ฐานข้อมูล Scopus รองลงมาจะเป็นการศึกษาในสัตว์
1. การศึกษาในห้องปฏิบัติการ (in vitro study) 2. ทดลองร้อยละ 13.8 และการทบทวนวรรณกรรมร้อยละ
การพัฒนาผลิตภัณฑ์ (product development) 3. 10.2 ดังตารางที่ 1
การศึกษาเชิงคุณภาพ (qualitative study) 4. การ 1.1 สถาบันที่ผลิตผลงานวิจัยสมุนไพรในไทย
วิจัยการตลาด (market research) 5. การสำารวจ 1.1.1 สถาบันที่ผลิตผลงานวิจัย
พฤติกรรมผู้บริโภค (consumer survey) 6. การ สมุนไพรในฐานข้อมูล ThaiLIS มีทั้งหมด 49 แห่ง
ศึกษาในสัตว์ทดลอง (animal study) 7. การสำารวจผู้ โดยพบผลงานที่เป็นของมหาวิทยาลัยขอนแก่นมาก
ให้บริการ/ผู้ผลิต (practitioner/manufacturer sur- ที่สุดจำานวน 20 เรื่อง รองลงมาเป็นมหาวิทยาลัย
vey) 8. การวิจัยเชิงคลินิกระยะที่ 1-4 (clinical trial เชียงใหม่ 19 เรื่อง มหาวิทยาลัยบูรพาและมหาวิทยาลัย
phases 1-4) 9. การประเมินผลทางเศรษฐศาสตร์ มหาสารคามอย่างละ 17 เรื่อง สำาหรับฐานข้อมูล Sco-
(economic evaluation) 10. การทบทวนวรรณกรรม pus พบสถาบันผลิตผลงานวิจัยทั้งหมด 36 แห่ง โดย