Page 163 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 17 ฉบับที่ 2
P. 163

J Thai Trad Alt Med                                   Vol. 17  No. 2  May-Aug 2019  301




              ตารางที่ 6 รูปแบบงานวิจัยของสมุนไพรต่างประเทศที่พบมากสุดใน 5 ลำาดับแรก

                                            โสม         ขมิ้น     ชะเอมเทศ       ขิง     ชะเอมจีน
               ประเภท
                                          (ร้อยละ)    (ร้อยละ)    (ร้อยละ)    (ร้อยละ)    (ร้อยละ)

               การศึกษาในห้องปฏิบัติการ     50.0        33.3        53.8        33.3       33.3
               การศึกษาในสัตว์ทดลอง         16.7        26.7        38.5        40.0       50.0
               การทบทวนวรรณกรรม             11.1        20.0        7.3         6.7          -
               การวิจัยคลินิกระยะที่ 1-4    11.1        20.0         -          6.7          -
               การพัฒนาผลิตภัณฑ์            5.6          -           -          13.3       16.7
               แบบรายงานผู้ป่วย/อุบัติการณ์   5.6        -           -           -           -



              ประเทศจีน ประเทศบราซิล ประเทศญี่ปุ่น และ    กะเพราร้อยละ 33.3 ชะเอมเทศร้อยละ 14.3 และ

              ประเทศเกาหลีใต้ โดยมีรายงานแต่ละประเทศดังนี้  โสมอินเดียร้อยละ 11.1
                   ประเทศอินเดีย รูปแบบงานวิจัยที่พบส่วนใหญ่     ประเทศจีน รูปแบบงานวิจัยส่วนใหญ่เป็นการ
              เป็นการศึกษาในห้องปฏิบัติการร้อยละ 56.0 การ  ศึกษาในห้องปฏิบัติการร้อยละ 51.3 รองลงมาเป็น

              ทบทวนวรรณกรรมร้อยละ 21.3 การศึกษาในสัตว์    การศึกษาในสัตว์ทดลองร้อยละ 22.3 การทบทวน
              ทดลองร้อยละ 15.7 การสำารวจพฤติกรรมผู้บริโภค   วรรณกรรมร้อยละ 13.1 การพัฒนาผลิตภัณฑ์

              ร้อยละ 2.1 การพัฒนาผลิตภัณฑ์ร้อยละ 1.4 การวิจัย  ร้อยละ 6.7 การวิจัยคลินิกระยะที่ 1-4 ร้อยละ 3.9
              คลินิกระยะที่ 1-4 ร้อยละ 1.2 การสำารวจผู้ให้บริการ/  การศึกษาเชิงคุณภาพร้อยละ 1.1 การวิจัยการตลาด
              ผู้ผลิตร้อยละ 1.2 การศึกษาเชิงคุณภาพร้อยละ 0.7   ร้อยละ 0.8 การสำารวจพฤติกรรมผู้บริโภคร้อยละ 0.6

              แบบรายงานผู้ป่วย/อุบัติการณ์ร้อยละ 0.2 และการ  และการสำารวจผู้ให้บริการ/ผู้ผลิตร้อยละ 0.3
              ประเมินทางเศรษฐศาสตร์ร้อยละ 0.2                 พบสมุนไพรจำานวน 187 ชนิด โดย 5 อันดับแรก

                   พบสมุนไพรจำานวน 319 ชนิด โดย 5 อันดับแรก  เป็น ตังเซียม (Salvia miltiorrhiza Bunge) 5 เรื่อง
              เป็น โสมอินเดีย (Withania somnifera (L.) Dunal)   ชะเอมเทศ (Glycyrrhiza glabra L.) 3 เรื่อง แปะก๊วย
              9 เรื่อง ชะเอมเทศ (Glycyrrhiza glabra L.) 7 เรื่อง   (Ginkgo biloba L.) 3 เรื่อง ตังกุย (Angelica sinen-

              กะเพรา (Ocimum tenuiflorum L.) 6 เรื่อง พรม  sis (Oliv.) Diels) 3 เรื่อง และชะเอมจีน (Glycyrrhiza
              มิ (Bacopa monnieri (L.) Wettst.) 6 เรื่อง และ   uralensis Fisch.) 3 เรื่อง สำาหรับรูปแบบงานวิจัย
              มะรุม (Moringa oleifera Lam.) 5 เรื่อง สำาหรับรูป  พบการศึกษาในห้องปฏิบัติการมากสุดในสมุนไพร

              แบบงานวิจัยที่เป็นการศึกษาในห้องปฏิบัติการพบ  ตังกุยร้อยละ 100.0 ตังเซียมร้อยละ 50.0 ชะเอมเทศ
              มากสุดในสมุนไพร พรมมิร้อยละ 100.0 โสมอินเดีย   แปะก๊วย และชะเอมจีนพบเท่ากันที่ ร้อยละ 33.3 รอง
              ร้อยละ 88.9 ชะเอมเทศร้อยละ 85.7 กะเพราร้อยละ    ลงมาเป็นรูปแบบการศึกษาในสัตว์ทดลองมากสุดคือ

              50.0 และมะรุมร้อยละ 40.0 รองลงมาเป็นรูปแบบ   ชะเอมเทศและชะเอมจีนเท่ากันที่ร้อยละ 66.7 และ
              การศึกษาในสัตว์ทดลองมากสุดคือ มะรุมร้อยละ 60.0    ตังเซียมกับแปะก๊วยร้อยละ 33.3
   158   159   160   161   162   163   164   165   166   167   168