Page 166 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 17 ฉบับที่ 2
P. 166
304 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 17 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2562
เคลื่อนงานวิจัย 3 ระดับดังนี้ References
ระดับบน หมายถึง การกำาหนดหัวข้อวิจัย 1. Department of Thai Traditional and Alternative Medi-
ควบคู่ไปกับนโยบายของประเทศที่ได้ประกาศเอาไว้ cine, Ministry of Public Health. National Master Plan for
the development of Thai herbs No.1 (2017-2021). Ministry
เช่น นโยบาย Herbal City หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า of Public Health. 2nd ed. Nonthaburi: TS Interprint; 2016.
Policy Driven Research Project 216 p. (in Thai)
2. National Research Council of Thailand. Draft national
ระดับกลาง เป็นการกำาหนดหัวข้อวิจัยที่มีความ research strategy and innovation 20 years (2017-2036).
สมดุลระหว่างนโยบายและการปฏิบัติ เช่น งานวิจัย Bangkok: Cocoon and Co; 2017. 133 p. (in Thai)
3. Teerachaisakul M, Pongpirul K, editors. Thai traditional
เพื่อสนับสนุนสมุนไพรที่อยู่ในบัญชียาหลักแห่งชาติ medicine research recomendation and Thai traditional
แล้ว ซึ่งเทียบเคียงกับ Sponsored Research Project medicine research situation. Nonthaburi: Thai Tradi-
tional Medicine Research Institute; 2017. 49 p. (in Thai)
ระดับล่าง เป็นการรวบรวมไอเดียและหัวข้อ 4. Kumluang S, Youngkong S, Yamabhai I, Kumdee C, Pi-
วิจัยจากนักวิจัยระดับรากหญ้าหรือนักวิจัยหน้าใหม่ lasant S, Werayingyong P, Bussabawalai T, Tantivess S,
Teerawattananon Y. A review of health research priority
ซึ่งเทียบเคียงกับ Investigator-Initiated Research
setting in Thailand. Journal of Health Systems Research.
Projects 2016;10:230-49. (in Thai)
โดยการวิจัยในแต่ละระดับควรจะกำาหนด 5. Woratanarat T, Woratanarat P, Wongdontee A, Chen-
phanitsub M. A review of situation and management of
สัดส่วนให้เกิดความสมดุลซึ่งที่ผ่านมายังไม่ชัดเจนนัก health literacy. R&D office for health research translation
จึงเห็นภาพงานวิจัยในระดับล่างมากเกินไป ทำาให้เกิด into practice, Department of Preventive and Social Sci-
ence, Faculty of Medicine, Chulalongkorn University;
ปรากฏการณ์หัวข้อวิจัยกระจัดกระจายและไม่สามารถ 2015. 64 p. (in Thai)
ต่อยอดไปสู่ปลายทางได้สำาเร็จ ซึ่งสัดส่วนที่น่าจะเป็น 6. Yothasamut J, Werayingyong P, Teerawattananon
Y. Priority setting in health technology assessment
ในการดำาเนินการในระยะ 5 ปีจากนี้ไปเสนอให้เป็น in Thailand: experience from the health intervention
30:40:30 คืองานวิจัยที่ควบคู่กับนโยบายประเทศควร and technology assessment program. Journal of Public
Health and Development. 2009;7(2):101-16. (in Thai)
มีร้อยละ 30 งานวิจัยที่มีความสมดุลระหว่างนโยบาย 7. Phimarn W, Caichompoo W, Sungthong B, Saramunee
และการปฏิบัติร้อยละ 40 และงานวิจัยระดับนักวิจัย K. A systematic review and meta-analysis on effective-
ness of cissus quadrangularis (Linn.) in hemorrhoid
หน้าใหม่ร้อยละ 30
treatment. Isan Journal of Pharmaceutical Sciences.
2014;10(3):403-18. (in Thai)
กิตติกรรมประก�ศ 8. Srisa-ard B. Basic Research. 9th ed. Bangkok: Suviriyas-
arn; 2013. 219 p. (in Thai)
โครงการนี้ได้รับสนับสนุนทุนวิจัยจากกรม 9. Thien-ngam T, Boonkhong P, Sornjoy T, Fuckum S,
การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวง Treemongknontip S, Suchaithanawanit S. The situation
of the existing researches on Thai wisdom and tradi-
สาธารณสุข คณะผู้วิจัยขอขอบคุณ พญ.นัทธมน คำารัตน์ tional health care. Final report. Thai Health Institute;
ที่ได้ช่วยเรียบเรียงเนื้อหาในระยะแรก คุณสุกัญญา 2010. 298 p. (in Thai)
10. Natural Healing and Prevention: Renewed perspectives
กุลแก้ว ที่ช่วยการคัดกรองบทความวิชาการ และคุณ on herbal and traditional products. London: Euromonitor
ฉันหทัย กตัญญูที่ช่วยประสานงานในทุก ๆ ด้าน International; 2016. 49 p.