Page 164 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 17 ฉบับที่ 2
P. 164

302 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก     ปีที่ 17  ฉบับที่ 2  พฤษภาคม-สิงหาคม 2562




                 ประเทศบราซิล รูปแบบงานวิจัยส่วนใหญ่     Thunb.) 2 เรื่อง สำาหรับรูปแบบงานวิจัยพบการศึกษา
             เป็นการศึกษาในห้องปฏิบัติการร้อยละ 45.1 รอง  ในห้องปฏิบัติการมากสุดคือ สมุนไพรชะเอมจีน โกฐ
             ลงมาเป็นการศึกษาในสัตว์ทดลองร้อยละ 29.2 การ  เขมาและ Celastrus orbiculatus ร้อยละ 33.3 รอง

             ทบทวนวรรณกรรมร้อยละ 11.1 การสำารวจพฤติกรรม  ลงมาเป็นรูปแบบการศึกษาในสัตว์ทดลองคือ ชะเอม
             ผู้บริโภคร้อยละ 5.6 การวิจัยคลินิกระยะที่ 1-4 ร้อย  จีน โกฐเขมา สกัลแคป Celastrus orbiculatus และ

             ละ 2.8 การพัฒนาผลิตภัณฑ์ร้อยละ 2.8 การศึกษา  แห้วหมูร้อยละ 33.3
             เชิงคุณภาพร้อยละ 2.1 การสำารวจผู้ให้บริการ/ผู้ผลิต     ประเทศเกาหลีใต้ รูปแบบงานวิจัยส่วนใหญ่
             ร้อยละ 0.7 และการประเมินทางเศรษฐศาสตร์ร้อยละ   เป็นการศึกษาในห้องปฏิบัติการร้อยละ 50.6 รอง

             0.7 พบสมุนไพรจำานวน 127 ชนิด โดย 5 อันดับแรก  ลงมาเป็นการศึกษาในสัตว์ทดลองร้อยละ 28.2 การ
             คือ มะตูมซาอุ (Schinus terebinthifolia Raddi) 3   ทบทวนวรรณกรรมร้อยละ 10.6 การวิจัยคลินิกระยะ

             ชิ้น ขิง (Zingiber officinale Roscoe) 3 เรื่อง Lip-  ที่ 1-4 ร้อยละ 5.7 การพัฒนาผลิตภัณฑ์ร้อยละ 2.9
             pia alba (Lippia alba (Mill.) N.E.Br. ex Britton   การสำารวจผู้ให้บริการ/ผู้ผลิตร้อยละ 1.8 แบบรายงาน
             & P.Wilson) 3 เรื่อง ขมิ้น (Curcuma longa L.) 2   ผู้ป่วย/อุบัติการณ์ร้อยละ 0.6 และการประเมินทาง

             เรื่อง และ อาไซอิ (Euterpe oleracea Mart.) 2 เรื่อง   เศรษฐศาสตร์ร้อยละ 0.6
             สำาหรับรูปแบบงานวิจัยพบการศึกษาในห้องปฏิบัติการ     พบสมุนไพรจำานวน 110 ชนิด โดย 5 อันดับ
             มากสุดคือ สมุนไพร Lippia alba ร้อยละ 66.7 มะตูม  คือ โสม (Panax ginseng C.A.Mey.) 12 เรื่อง

             ซาอุและขิงร้อยละ 33.3 รองลงมาเป็นรูปแบบการ  ปลาไหลเผือกใหญ่ (Eurycoma longifolia Jack)
             ศึกษาในสัตว์ทดลองคือ อาไซอิร้อยละ 100.0 มะตูม  2 เรื่อง กะเม็ง (Eclipta prostrate (L.) L.) 2 เรื่อง อึ่งคี้
             ซาอุร้อยละ 66.7 ขมิ้นร้อยละ 50.0 และขิงร้อยละ 33.3   (Astragalus membranaceus (Fisch.) Bunge)

                 ประเทศญี่ปุ่น รูปแบบงานวิจัยส่วนใหญ่เป็นการ  2 เรื่อง และชะเอมจีน (Glycyrrhiza uralensis
             ศึกษาในห้องปฏิบัติการร้อยละ 40.0 รองลงมาเป็นการ  Fisch.) 2 เรื่อง สำาหรับรูปแบบงานวิจัยพบการศึกษา

             ทบทวนวรรณกรรมร้อยละ 16.7 การศึกษาในสัตว์    ในห้องปฏิบัติการมากสุดคือ สมุนไพรโสม ร้อยละ
             ทดลองร้อยละ 15.6 การวิจัยคลินิกระยะที่ 1-4 ร้อย  53.8 ปลาไหลเผือก กะเม็ง และชะเอมจีนร้อยละ 50.0
             ละ 15.6 แบบรายงานผู้ป่วย/อุบัติการณ์ร้อยละ 6.7   รองลงมาเป็นรูปแบบการศึกษาในสัตว์ทดลองคือ อึ่งคี้

             การพัฒนาผลิตภัณฑ์ ร้อยละ 4.4 และการสำารวจ   ร้อยละ 100.0 กะเม็งและชะเอมจีนร้อยละ 50.0 และ
             พฤติกรรมผู้บริโภคร้อยละ 1                   โสมร้อยละ 23.1

                 พบสมุนไพรจำานวน 56 ชนิด โดย 5 อันดับแรก
             คือ ชะเอมจีน (Glycyrrhiza uralensis Fisch.) 3             อภิปร�ยผล
             เรื่องโกฐเขมา (Atractylodes lancea (Thunb.) DC.)      จากการทบทวนงานวิจัยทำาให้พบว่า สถาบันต่าง ๆ

             3 เรื่อง แห้วหมู (Cyperus rotundus L.) 2 เรื่อง สกัล  ทั้งในประเทศและต่างประเทศ ต่างให้ความสำาคัญ
             แคป (Scutellaria baicalensis Georgi) 2 เรื่อง และ   กับการศึกษาวิจัยด้านสมุนไพรกันอย่างหลากหลาย
             Celastrus orbiculatus (Celastrus orbiculatus   รูปแบบ ซึ่งส่วนใหญ่รูปแบบการวิจัยจะเน้นหนักไป
   159   160   161   162   163   164   165   166   167   168   169