Page 130 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 17 ฉบับที่ 2
P. 130
268 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 17 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2562
ระหว่างการมีเคราะห์ เฉพาะเพิ่มเติม เช่น การทุบบริเวณกระดูกสันหลัง
ส่วนถ้าเป็นโรคไข้จะทำาการตรวจเฉพาะ เช่น สังเกต
2. หลักก�รและแนวท�งในก�รตรวจวินิจฉัย ความซีดหรือเหลืองที่นัยน์ตา หรือสัมผัสบริเวณหลัง
และรักษ�ด้วยตำ�รับย�สมุนไพรต�มกลุ่มโรค มือและเท้าเพื่อดูความร้อน-เย็น เป็นต้น และถ้าเป็น
หมอประวิทย์ตรวจวินิจฉัยโรคโดยสังเกต กลุ่มโรคอื่น ๆ จะใช้การสอบถามอาการจากผู้ป่วย
ลักษณะทั่วไป และท่าทางการเดินของผู้ป่วย ทำาการ หลักการในการรักษาคือเน้นการรักษาด้วยตำารับยา
ซักประวัติผู้ป่วยหรือญาติผู้ป่วยในกรณีที่ผู้ป่วยไม่ เป็นหลักโดยหมอประวิทย์เน้นยำาว่าถ้าใช้ยาสมุนไพร
้
สามารถสื่อสารได้ โดยเน้นถามถึงวิถีชีวิตประจำาวัน ถูกกับโรคตัวยาในตำารับซึ่งมีสรรพคุณที่ดีจะช่วยสร้าง
ในเรื่องพฤติกรรมการรับประทาน การสัมผัสกับสิ่ง สมดุลกับธาตุภายในร่างกายทำาให้เกิดภูมิต้านทาน
แวดล้อม ที่อาจก่อให้เกิดความไม่สมดุลของธาตุ ที่สามารถฟื้นฟูร่างกายจากโรคที่เป็นอยู่ก็จะช่วยใน
ภายในร่างกาย หลังจากนั้นจึงจับชีพจรผู้ป่วย โดย ประสิทธิผลการรักษามากกว่าการนวด และใช้การ
หมอจะจับ 4 เส้นดังนี้ (ภาพที่ 1) (1) เส้นความดัน ซึ่ง นวดเสริมเข้าไปตามชนิดของโรคที่หมอประวิทย์
เป็นตำาแหน่งปกติของการจับชีพจรที่ข้อมือ ถ้ามีการ วินิจฉัยได้ ในการนวดรักษาจะเป็นกลุ่มโรคลมหรือ
เต้นไม่สม่ำาเสมอ มีความหนักเบาไม่เท่ากัน และส่วน กลุ่มโรคอื่นตามดุลยพินิจของหมอ ส่วนในบางโรค
(2) เส้นหัวใจ, (3) เส้นอวัยวะภายใน และ (4) เส้นไข อาจมีตำารับยาหลายตำารับ หมอประวิทย์จะจ่ายยา
มัน โดยปกติจะไม่เต้น ถ้าจับแล้วพบว่าจุดใดเต้น หมอ เพียงตำารับเดียวที่ตรงกับอาการของผู้ป่วยมากที่สุด
จะสันนิษฐานไว้ก่อนว่าจุดนั้นอาจมีความผิดปกติที่ แล้วติดตามผลการรักษา ถ้าอาการไม่ดีขึ้นจะเปลี่ยน
เกี่ยวข้องกับส่วนนั้น จึงซักประวัติผู้ป่วยเพิ่มเติมเกี่ยว เป็นอีกตำารับแล้วติดตามผลต่อไป สมุนไพรที่หมอสั่ง
กับเรื่องนั้น ๆ จ่ายจะเขียนในใบสั่งยาให้ผู้ป่วยไปซื้อที่ร้านสมุนไพร
ขั้นตอนต่อไปคือการวินิจฉัยแยกโรค โดย แล้วนำากลับมาให้หมอทำาพิธีสวดคาถาเสกยาอีกครั้ง
วิเคราะห์จากอาการของผู้ป่วยร่วมกับผลของการจับ ในการติดตามผลการรักษาเป็นการนัดผู้ป่วยให้มา
ชีพจร โดยพบว่าถ้าเป็นกลุ่มโรคลมจะมีการตรวจ รับการรักษาอย่างน้อย 3 ครั้ง โดยมาติดต่อกัน 3 วัน
เพื่อดูการดำาเนินโรค ซึ่งจุดสิ้นสุดของการติดตามจะ
แตกต่างกันไปตามอาการของผู้ป่วย
ผลการศึกษาสามารถแบ่งกลุ่มโรคที่รักษาด้วย
ยาสมุนไพรได้ 7 กลุ่มดังนี้
2.1 กลุ่มโรคลม
สาเหตุของโรคเกิดจากการที่ลมและเลือด
ภายในร่างกายไหลเวียนไม่สะดวก ซึ่งส่งผลให้ผู้ป่วย
มีอาการปวดเมื่อยตามร่างกาย ปวดข้อ รวมถึงการ
ภาพที่ 1 ตำ�แหน่งก�รจับชีพจรเพื่อก�รตรวจวินิจฉัยต�ม เคลื่อนไหวติดขัดเนื่องจากมีข้อติด ส่วนผู้ป่วยกลุ่ม
แนวท�งของหมอประวิทย์ แก้วทอง อัมพฤกษ์-อัมพาต จะมีอาการแขนและขาอ่อนแรง