Page 133 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 17 ฉบับที่ 2
P. 133
J Thai Trad Alt Med Vol. 17 No. 2 May-Aug 2019 271
ไม่มากเท่ากับกลุ่มที่ 2.1 มั่นในคุณลักษณะและบทบาทความเป็นหมอโดย
เนื่องจากมีตำารับยาจำานวนมาก ซึ่งแต่ละตำารับมี ปฏิบัติตนตามหลักศาสนาและความเชื่อเรื่องพิธีกรรม
ตัวยาสมุนไพรโดยเฉลี่ยไม่น้อยกว่าสิบรายการ ในการ ต่าง ๆ ไม่ต่างจากที่กล่าวมาข้างต้น [12,14]
รายงานครั้งนี้จึงไม่สามารถแสดงตำารับยาได้ทั้งหมด วิธีการตรวจวินิจฉัยโรคของหมอประวิทย์ แก้ว
โดยขอยกตัวอย่างเพียง 1-2 ตำารับ ที่สำาคัญและใช้ ทองคือการสังเกตลักษณะ การซักประวัติและการจับ
บ่อยกับผู้ป่วยในแต่ละกลุ่มโรค (ตารางที่ 1) ชีพจร ซึ่งเป็นองค์ความรู้ที่ได้รับการถ่ายทอด และเป็น
ทักษะที่มีผลจากประสบการณ์ในการรักษามาเป็นเวลา
อภิปร�ยผล นาน วิธีการเหล่านี้มีความคล้ายคลึงกับการแพทย์
จากการศึกษาพบว่าหมอประวิทย์ แก้วทองมี แผนปัจจุบัน แต่มีรายละเอียดที่แตกต่าง โดยการซัก
ความเลื่อมใสศรัทธาในศาสตร์การแพทย์พื้นบ้าน ประวัติจะเป็นการเน้นถามถึงสาเหตุที่เกี่ยวกับวิถีชีวิต
เนื่องจากเคยเจ็บป่วยและรักษาหายด้วยวิธีการรักษา ประจำาวันในเรื่องพฤติกรรมการรับประทาน การสัมผัส
ของหมอพื้นบ้านจึงหันมาศึกษาวิชาความรู้จากหมอ กับสิ่งแวดล้อม ที่อาจทำาให้เกิดความไม่สมดุลของธาตุ
พื้นบ้านและหลังจากนั้นก็ศึกษาเพิ่มเติมด้วยตนเอง ภายในร่างกาย วิธีการจับชีพจรเส้นที่ 1 เส้นความดัน
พร้อมกับเพิ่มประสบการณ์ด้วยการรักษาผู้ป่วย คล้ายศาสตร์การแพทย์แผนจีน ที่เรียกว่า “แมะ” ซึ่ง
สอดคล้องกับการศึกษาภูมิปัญญาการเป็นหมอพื้น นิยมจับตรงหลอดเลือดแดงบริเวณข้อมือ (Radial
บ้านในจังหวัดพัทลุง และนครนายก ก็พบว่า artery) ต้องดูความแรง ความเร็ว จังหวะ ความลึก
[13]
[12]
ส่วนหนึ่งมาจากการที่ตนเองหรือคนในครอบครัวเจ็บ ลักษณะที่มากระทบนิ้วมือ ส่วนชีพจรอีก 3 เส้นคือ
[15]
ป่วยแล้วรักษาหายกับหมอพื้นบ้านจึงมีความเลื่อมใส เส้นหัวใจ เส้นอวัยวะภายใน และเส้นไขมัน แต่ละ
ศรัทธาในตัวครูบาอาจารย์หมอพื้นบ้านจึงนำาไปสู่เหตุ ตำาแหน่งจะบ่งบอกถึงอวัยวะภายในต่าง ๆ การจับ
จูงใจสำาคัญที่ทำาให้สนใจเรียนรู้วิชาจนนำาไปสู่การ ชีพจรจึงเป็นวิธีการที่มีความละเอียดและซับซ้อน และ
เป็นหมอพื้นบ้านและได้เรียนรู้เพิ่มเติมพร้อมกับการ มีความแตกต่างจากวิธีการจับชีพจรทั่วไป ในแนวทาง
เพิ่มประสบการณ์จริงจากการรักษาผู้ป่วย เมื่อเป็น การรักษาหมอประวิทย์ให้ความสำาคัญกับการเน้นการ
หมอพื้นบ้านแล้วหมอประวิทย์เป็นผู้ประพฤติปฏิบัติ ใช้ตำารับยาสมุนไพรที่เหมาะสมกับโรคและการใช้คาถา
ในการดำารงตนความเป็นหมอพื้นบ้านอย่างเคร่งครัด แล้วจึงนวดในบางโรคเพื่อเสริมประสิทธิผลการรักษา
ทั้งการประพฤติตามจรรยาบรรณความเป็นหมอ การ โดยให้เหตุผลว่าถ้าตรวจวินิจฉัยได้ถูกต้องและให้ยา
ถือศีลห้า การเคารพครูหมอ การไม่เรียกร้องทรัพย์สิน สมุนไพรที่ตรงกับโรค สรรพคุณในตัวยาจะช่วยรักษา
จากผู้ป่วย การใช้คาถาในการประกอบพิธีกรรมทุก โรคให้ดีขึ้นได้ และการใช้คาถาจะช่วยส่งเสริมให้การ
ขั้นตอนการรักษา เพื่อให้เกิดประสิทธิผลที่ดีกับผู้ รักษามีประสิทธิผลมากขึ้น ขาดอย่างใดอย่างหนึ่ง
ป่วย เป็นไปตามหลักการประพฤติปฏิบัติตนของ ไปไม่ได้จะทำาให้การรักษาไม่ได้ผล ซึ่งหมอพื้นบ้าน
หมอพื้นบ้านทั่วไปสอดคล้องกับการศึกษาการดำารง โดยทั่วไปก็ใช้การรักษาด้วยสมุนไพร ควบคู่กับใช้
อยู่ของหมอบ้านในภาคใต้ซึ่งพบว่าต้องปฏิบัติตนอยู่ คาถา [12-13] โดยการศึกษาภูมิปัญญาหมอพื้นบ้านที่
ในจริยธรรมของวิชาชีพเพื่อให้ผู้ป่วยและสังคมเชื่อ พัทลุงพบว่าจำานวนหมอพื้นบ้านที่ใช้คาถาหรือวิธี