Page 127 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 17 ฉบับที่ 2
P. 127
J Thai Trad Alt Med Vol. 17 No. 2 May-Aug 2019 265
[World Health Organization (WHO)] ที่สนับสนุน แต่ละพื้นที่ จากการศึกษาที่ผ่านมาพบว่าหมอพื้นบ้าน
ให้แต่ละประเทศฟื้นฟูการแพทย์แผนดั้งเดิมที่สอดคล้อง ภาคใต้ยังเป็นที่พึ่งของผู้ป่วยโดยเฉพาะโรคเรื้อรัง ดัง
กับวัฒนธรรมและความเป็นอยู่ทางสังคมของผู้ป่วย จะเห็นได้จากงานวิจัยที่ศึกษาการใช้สมุนไพรของหมอ
[1]
อีกทั้งสมุนไพรในท้องถิ่นก็เหมาะที่จะนำามาใช้กับ พื้นบ้านจังหวัดสงขลาในการรักษาโรคตับ หรือการ
[7]
ผู้ป่วยที่อยู่ในแต่ละพื้นที่ เพราะมีความสมดุลและ รักษาโรคความดันโลหิตสูง [8]
สอดคล้องกันกับสภาพภูมิประเทศและภูมิอากาศ จากการสำารวจภูมิปัญญาหมอพื้นบ้านในจังหวัด
[2]
ประเทศไทยได้ตอบสนองนโยบายขององค์การ สงขลา พบว่าหมอประวิทย์ แก้วทองเป็นหมอพื้น
อนามัยโลกโดยจัดตั้งกรมการแพทย์แผนไทยและ บ้านที่มีความสามารถและประสบการณ์ในการรักษา
การแพทย์ทางเลือกขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2545 เพื่อจัดให้มี โรคได้อย่างหลากหลายทั้งโรคที่ต้องใช้การนวด และ
การดูแลสุขภาพที่เป็นทางเลือกให้กับผู้ป่วย โดยเน้น ใช้ยาสมุนไพร มีความรู้ความสามารถเป็นที่ยอมรับ
การใช้ภูมิปัญญาไทยและการใช้สมุนไพรในการดูแล ของประชากรในชุมชน และในต่างพื้นที่ มีผู้ป่วยที่เข้า
รักษาสุขภาพ และในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม มารับบริการการรักษาจำานวน 40-60 คนต่อวัน โดย
แห่งชาติยังมีแผนแม่บทแห่งชาติว่าด้วยการพัฒนา หมอประวิทย์มีการบันทึกข้อมูลการรักษาโรคลงใน
สมุนไพรไทย พ.ศ. 2560-2564 เพื่อลดค่าใช้จ่ายใน ทะเบียนประวัติผู้ป่วยที่เข้ารับการรักษา จากข้อมูล
การนำาเข้ายาจากต่างประเทศ ปัจจุบันคนไทยนิยม ที่ผ่านมายังไม่มีผู้ศึกษาในเรื่องตำารับยาของหมอ
[3]
รักษาโรคด้วยสมุนไพรมากขึ้น เนื่องจากสมุนไพรก็ ประวิทย์ ที่ใช้ในการรักษาโรค ซึ่งได้เขียนรวบรวมไว้
มีสรรพคุณในการรักษาที่ดี และมีผลข้างเคียงน้อย เป็นตำาราจากประสบการณ์ตรงที่จ่ายยาเพื่อรักษาผู้
[4]
เพราะสมุนไพรส่วนหนึ่งที่นำามาใช้คือสมุนไพร ป่วยแล้วได้ประสิทธิผลที่ดี ซึ่งองค์ความรู้ภูมิปัญญา
ที่มักจะนำามาประกอบอาหาร การใช้สมุนไพรยัง ที่บันทึกไว้เป็นตำารานานไปอาจสูญหาย การวิจัยนี้
เป็นการสนับสนุนนโยบายของรัฐบาลเพื่อแก้ปัญหา จึงศึกษาตำารับยาสมุนไพรในการรักษาโรคของหมอ
เศรษฐกิจของประเทศ อีกทั้งยังมีการพัฒนางาน ประวิทย์ แก้วทอง ซึ่งเป็นภูมิปัญญาที่สำาคัญและมี
วิจัยและโครงการพัฒนาสมุนไพร เพื่อใช้เป็นยาใน คุณค่าที่ควรเก็บรักษาไว้เพื่อใช้พัฒนาต่อยอดองค์
อุตสาหกรรมผลิตยา และพัฒนาเศรษฐกิจโดยรวม ความรู้ในการใช้สมุนไพรรักษาโรคต่าง ๆ ในท้องถิ่น
ของชาติต่อไป [5] ภาคใต้ต่อไป
จากการค้นข้อมูลพบว่ามีหมอพื้นบ้านใน การศึกษาวิจัยภูมิปัญญาการรักษาโรคด้วย
ประเทศไทยที่ขึ้นทะเบียนไว้ทั้งสิ้น 50,591 คน ซึ่งได้ ตำารับยาสมุนไพรของหมอประวิทย์ แก้วทอง ใน
จัดกลุ่มตามความชำานาญในการรักษาเป็น 6 กลุ่ม คือ ครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประวัติชีวิตของหมอ
หมอพิธีกรรม หมอยาสมุนไพร หมอนวด หมอตำาแย ประวิทย์ที่นำาไปสู่การเป็นหมอพื้นบ้าน และศึกษา
หมอรักษากระดูกหัก และอื่น ๆ ในการรักษาของ หลักการและแนวทางของหมอประวิทย์ แก้วทอง
[6]
หมอสมุนไพรมักประกอบด้วยการใช้เวทย์มนต์คาถา ในการตรวจวินิจฉัย และเลือกใช้ตำารับยาสมุนไพร
ร่วมกับการตรวจวินิจฉัยและจ่ายยา ซึ่งตำารับยาที่ใช้ สำาหรับการรักษาผู้ป่วยในกลุ่มโรคต่าง ๆ โดยทำาการ
มักจะเป็นสมุนไพรในท้องถิ่นที่มีความแตกต่างกันใน รวบรวมตำารับยาสมุนไพรที่ใช้ในการรักษาผู้ป่วยของ