Page 132 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 17 ฉบับที่ 2
P. 132
270 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 17 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2562
ไม่รับประทานผัก ริดสีดวงทวารมักเกิดตามมาหลัง ตามอาการหลักแล้วเสริมด้วยยารักษาโรคเรื้อรังไป
จากท้องผูกเรื้อรัง มีอาการขับถ่ายลำาบาก มีติ่งเนื้อ ด้วย เช่น ผู้ป่วยเบาเหวานที่เป็นไข้ หมอประวิทย์ จะ
ยื่นออกมา หรือมีเลือดไหลออกมาพร้อมกับอุจจาระ จ่ายยารักษาไข้โดยจะเพิ่มสมุนไพรรักษาเบาหวานไป
กลุ่มยาหลักที่ใช้รักษาท้องผูกและริดสีดวงทวาร จะ ในตำารับยานั้นด้วย เป็นต้น กลุ่มยาหลักที่ใช้จะแตก
้
เป็นรสเปรี้ยวเพื่อช่วยเพิ่มนำาให้มวลอุจจาระ ทำาให้ ต่างกัน ถ้าเป็นยาละลายไขมัน หรือละลายลิ่มเลือด
อุจจาระไม่แห้งแข็ง และขับถ่ายได้ง่ายขึ้น จะมีตัวยารสสุขุมร้อนเป็นหลัก เพื่อช่วยกระจายลม
2.5 กลุ่มโรคนิ่วและระบบทางเดินปัสสาวะ และปรับโลหิตให้ไหลเวียนได้ดีขึ้น ถ้าเป็นยาเบาหวาน
กลุ่มโรคนี้สาเหตุมักเกิดจากพฤติกรรมบาง ก็จะใช้ยารสขมเป็นหลัก เพื่อลดความข้นเหนียวของ
อย่างของผู้ป่วย เช่น การกลั้นปัสสาวะเป็นเวลานานซึ่ง เลือด เป็นต้น
ส่งผลให้เกิดนิ่วในทางเดินปัสสาวะได้จะมีอาการเจ็บ
เสียวเวลาปัสสาวะ ปัสสาวะไม่สุด ปัสสาวะกะปริบกะ 3. ตำ�รับย�สมุนไพรต�มกลุ่มโรค 7 กลุ่ม
ปรอย เป็นต้น กลุ่มยาหลักจะเป็นยารสจืด ช่วยในการ ตำารับยาสมุนไพรที่รวบรวมจากตำารายาของ
ขับปัสสาวะ และขับนิ่วออกมาทางปัสสาวะด้วยตำารับ หมอประวิทย์ แก้วทอง เป็นตำารับยาที่หมอประวิทย์
ยาในกลุ่มโรคนี้ เช่น ยาขับนิ่วในกระเพาะปัสสาวะ, ศึกษาจากตำารายาหลายเล่ม แล้วนำามาใช้รักษาผู้ป่วย
แก้ต่อมลูกหมากโต, ยาแก้ไตเสีย เป็นต้น ซึ่งเมื่อพบว่าตำารับยาใดรักษาแล้วได้ประสิทธิผลที่ดี
2.6 กลุ่มโรคผิวหนัง หมอประวิทย์จึงรวบรวมมาไว้เฉพาะในตำารายาเล่มนี้
ในกลุ่มนี้ สาเหตุของแต่ละโรคมีที่มาแตกต่าง มีตำารับยาทั้งสิ้น 99 ตำารับ โดยแบ่งตำารับยาสมุนไพร
กัน บางรายอาจเกิดจากอุบัติเหตุ เช่น นำ้าร้อนลวก บาง เหล่านี้ตามกลุ่มโรค 7 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มโรคลม 26
รายอาจเกิดจากการไม่รักษาความไม่สะอาด เช่น รังแค ตำารับ, กลุ่มโรคไข้ 12 ตำารับ, กลุ่มโรคแม่และเด็ก 18
เหา เป็นต้น ซึ่งการวินิจฉัยหมอประวิทย์ จะซักประวัติ ตำารับ, กลุ่มโรคระบบทางเดินอาหาร 16 ตำารับ, กลุ่ม
และพิจารณาจากรอยโรคบนผิวหนังที่สามารถสังเกต โรคนิ่วและระบบทางเดินปัสสาวะ 6 ตำารับ, กลุ่มโรค
เห็นได้ กลุ่มยาหลักเป็นรสเมาเบื่อ เพราะมีสรรพคุณ ผิวหนัง 14 ตำารับ, กลุ่มโรคเรื้อรัง 7 ตำารับ ซึ่งหมอ
ในการขับพิษ และช่วยรักษาโรคผิวหนังต่าง ๆ ได้ อาจ ประวิทย์จะเลือกจ่ายตำารับยาโดยพิจารณาจากอาการ
้
มีการใช้ยารสฝาดช่วยในการสมานแผลด้วยตำารับยา วิธีการปรุงยาคือการนำาสมุนไพรมาต้มเอานำาดื่ม ตำารับ
ที่ใช้ เช่น ประดงเลือด, สะเก็ดเงิน, นำ้าเหลืองเสีย, ยาสมุนไพรที่ใช้บ่อยมากที่สุดคือ ตำารับยาสมุนไพรใน
งูสวัด, โรคผิวหนัง (คันทุกชนิด), ยาพอกแก้นำ้าร้อน กลุ่มโรคลม โดยเป็นยาแก้อัมพฤกษ์ อัมพาต และยา
ลวก, ยาเหา, นำ้ากัดเท้า เป็นต้น หมอนรองกระดูกทับเส้นประสาท ซึ่งให้ประสิทธิผล
2.7 กลุ่มโรคเรื้อรังต่าง ๆ การรักษาที่ดี จึงมีการบอกต่อจากผู้ที่หายป่วยหรือมี
ผู้ป่วยโรคเรื้อรังมักจะรับการรักษากับแพทย์ อาการดีขึ้น ทำาให้จำานวนผู้ป่วยที่มารับการรักษาทั้ง
แผนปัจจุบันอยู่แล้ว ส่วนใหญ่จึงมักมาด้วยอาการ 2 โรคนี้มากกว่าโรคอื่น ๆ อย่างเด่นชัด ส่วนตำารับยา
อื่น เช่น โรคลม โรคผิวหนัง หรือไข้ เป็นต้น เมื่อ สมุนไพรที่ใช้ในกลุ่มโรคที่ 2.2-2.7 เป็นตำารับที่ได้ใช้ได้
วินิจฉัยแล้วพบว่าผู้ป่วยมีโรคเรื้อรังด้วย ก็จะจ่ายยา ผลจริงแต่ในระหว่างการเก็บข้อมูลพบผู้ป่วยจำานวน