Page 98 - วารสารปีที่17ฉบับที่1
P. 98
88 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 17 ฉบับที่ 1 มกราคม-เมษายน 2562
gamma elemene [13] นำาผงสมุนไพรเดี่ยวแต่ละชนิด ชั่งนำ้าหนัก 50
จากภูมิปัญญาทางการแพทย์แผนไทยที่ใช้ กรัม เติมนำ้าลงไปประมาณ 150 มิลลิลิตร เคี่ยว
สมุนไพรที่อยู่ในพิกัดเบญจผลธาตุ เป็นส่วนประกอบ ประมาณ 3 ชั่วโมง สำาหรับการเตรียมสารสกัดจาก
ในการปรุงยาเพื่อแก้อาการปัสสาวะขัด ไตพิการ จึง เบญจผลธาตุ จะนำาสมุนไพรชั่งอย่างละ 10 กรัมนำามา
ศึกษาพฤกษเคมีและฤทธิ์ของสมุนไพรในเบญจผล ต้มรวมกัน ทำาการต้มเคี่ยว ประมาณ 3 ชั่วโมง จากนั้น
ธาตุต่อการยับยั้งเชื้อแบคทีเรียที่ก่อโรคในระบบทาง นำาสารสกัดแต่ละชนิดที่ได้ไปกรองด้วยกระดาษกรอง
เดินปัสสาวะ เพื่อนำามาเป็นประโยชน์ในการสนับสนุน แล้วจึงนำาของเหลวที่กรองได้ไประเหยแห้งด้วยเครื่อง
การใช้สมุนไพรและเป็นทางเลือกรักษาผู้ป่วยในกลุ่ม freeze dry จะได้สารสกัดเป็นลักษณะผงแห้ง นำาไป
โรคดังกล่าว เก็บในโถดูดความชื้น (desiccator) ที่อุณหภูมิห้อง
จนกว่าจะนำาไปใช้ในการทดลอง
[14]
ระเบียบวิธีศึกษ� 2. การทดสอบหาพฤกษเคมี
2.1 การตรวจสอบแอลคาลอยด์: ชั่งสาร
วัสดุ สกัดมา 200 มิลลิกรัม เติมสารละลาย 10% H SO
2
ตัวอย่างสมุนไพรแห้ง จากร้านจำาหน่ายยา ปริมาตร 1.0 มิลลิลิตร เขย่าแล้วนำาไปอุ่นบนเครื่อง 4
สมุนไพร ในกรุงเทพมหานคร ได้แก่ หัวกกลังกา (Cy- อังนำ้า (water bath) ประมาณ 5 นาที กรองส่วนที่
perus alternifolius L.) หัวเต่าเกียด (Homalo- ไม่ละลายออกแล้วปล่อยให้สารละลายเย็นลงที่
mena aromatica (Spreng.) Schott) หัวแห้ว อุณหภูมิห้อง นำาของเหลวที่ได้จากการกรอง ไปหยด
หมู (Cyperus rotundus L.) หัวหญ้าชันกาด สารละลายดราเจนดอร์ฟ (Dragendorff’s re-
(Panicum repens L.) และหัวเปราะหอม agent) จำานวน 5 หยดแล้วเขย่า ถ้าปรากฏตะกอนสี
(Kaempferia galanga L.) ส้มแดง แสดงว่าพบ แอลคาลอยด์
แบคทีเรียที่ใช้ศึกษา ใช้แบคทีเรียสายพันธุ์ 2.2 การตรวจสอบสารกลุ่มเทอร์พีนอยด์:
มาตรฐานจากกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ 2 ชนิด คือ ชั่งสารสกัดมา 200 มิลลิกรัม ละลายด้วยคลอโรฟอร์ม
Escherichia coli ATCC25923 และ Entero- ปริมาตร 1.0 มิลลิลิตร เขย่ากรองส่วนที่ไม่ละลายออก
coccus faecalis ATCC7080 นำาของเหลวที่ได้จากการกรอง ค่อย ๆ เติมกรดซัลฟิว-
ริกเข้มข้น (H SO conc.) ปริมาตร 0.5 มิลลิลิตร
4
2
วิธีก�รศึกษ� ลงไป ถ้าปรากฏวงแหวนสีนำ้าตาลตรงรอยต่อ
1. การสกัดสารจากสมุนไพร ระหว่างชั้นของสารสกัดกับกรดซัลฟิวริก แสดงว่าพบ
นำาสมุนไพรเดี่ยวทั้ง 5 ชนิด ได้แก่ กกลังกา เต่า เทอร์พีนอยด์
เกียด แห้วหมู หญ้าชันกาด และเปราะหอม ใช้ส่วนหัว 2.3 การตรวจสอบสารกลุ่มฟลาโวนอยด์: ชั่ง
ตัดเป็นชิ้นเล็ก ๆ แล้วนำาไปอบใน hot air oven ที่ สารสกัดมา 200 มิลลิกรัม ละลายด้วย 50% เอทานอล
อุณหภูมิ 45˚C สมุนไพรที่อบแล้วนำามาบดเก็บไว้ใน ปริมาตร 1.0 มิลลิลิตร เขย่าและกรองส่วนที่ไม่ละลาย
ที่แห้ง ไม่มีความชื้น ที่อุณหภูมิห้อง ออก นำาของเหลวที่ได้จากการกรอง ใส่ลวดแมกนีเซียม