Page 102 - วารสารปีที่17ฉบับที่1
P. 102
92 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 17 ฉบับที่ 1 มกราคม-เมษายน 2562
แทนนิน และซาโปนิน ยังมีงานวิจัยทดสอบฤทธิ์ยับยั้งเชื้อแบคทีเรียของ
[20]
จากงานวิจัยฤทธิ์ยับยั้งแบคทีเรียและปริมาณ สมุนไพร 6 ชนิด ได้แก่ Acorus calamus L., Aris-
สารประกอบฟีนอลิกของผลไม้ 5 ชนิด ได้แก่ ทุเรียน tolochia indica L., Cyperus rotundus L., Des-
พันธุ์หมอนทอง มังคุดสุก ส้มเขียวหวาน กล้วยนำ้าว้า modium gangeticum (L.) DC., Holostemma
ดิบ และหมากสงดิบ เมื่อสกัดโดยใช้นำ้าร้อน เอทานอล ada-kodien Schult. และ Kaempferia galanga L.
ความเข้มข้น 95% และอะซิโตน พบว่า ความสามารถ ที่สกัดด้วยตัวทำาละลาย เฮกเซน, คลอโรฟอร์ม และ
ในการยับยั้งแบคทีเรียมีความสัมพันธ์กับปริมาณ นำ้า และทดสอบการยับยั้งเชื้อ Bacillus pumilis และ
สารประกอบฟีนอลิกซึ่งเป็นสารชนิดหนึ่งของกลุ่ม E. coli ด้วยวิธี disc diffusion พบว่า สมุนไพรส่วน
ฟลาโวนอยด์ โดยเปลือกผลไม้ทุกชนิดที่ทำาการศึกษา ใหญ่สามารถยับยั้งเชื้อ Bacillus pumilis ที่เป็น
สามารถยับยั้งแบคทีเรียแกรมบวกได้ดีกว่าแกรม แบคทีเรียแกรมบวกได้ดีกว่า E. coli ซึ่งเป็นแกรมลบ
ลบ และงานวิจัยฤทธิ์ต้านเชื้อแบคทีเรียของสารสกัด Aristolochia indica L. ซึ่งสกัดจาก นำ้าและ
[21]
ยี่หร่า เมื่อสกัดด้วยเอทานอล แล้วทดสอบกับเชื้อ คลอโรฟอร์ม สามารถยับยั้งเชื้อ E. coli ได้เพียงชนิด
แบคทีเรีย S. aureus, S. pyogenes, S agalactiae, เดียว สารสกัดจากนำ้าของแห้วหมูและเปราะหอมไม่
S. typhi, E. coli และ K pneumoniae ด้วยวิธี disc สามารถยับยั้งเชื้อ E. coli [24]
diffusion พบว่าสารสกัดจากยี่หร่า สามารถยับยั้งเชื้อ
ทุกชนิด แต่ให้ผลในการยับยั้งที่แตกต่างกัน เพราะ ข้อสรุป
เป็นผลมาจากส่วนประกอบที่สำาคัญของนำ้ามันหอม เบญจผลธาตุเป็นพิกัดยาประกอบด้วยสมุนไพร
ระเหยจากพืช คือ eugenol, phenol และ thymol ซึ่ง 5 ตัว ได้แก่ หัวกกลังกา (Cyperus alternifolius
เป็นสารกลุ่มฟลาโวนอยด์ [22] L.) หัวเต่าเกียด (Homalomena aromatica
ผลการศึกษา พบว่า สารสกัดจากแห้วหมูไม่มี (Spreng.) Schott) หัวแห้วหมู (Cyperus ro-
ฤทธิ์ยับยั้งเชื้อ E. coli และ E. faecalis ซึ่งสอดคล้อง tundus L.) หัวหญ้าชันกาด (Panicum repens
กับการศึกษาเรื่อง การวิเคราะห์ทดสอบฤทธิ์ต้าน L.) และหัวเปราะหอม (Kaempferia galanga
จุลินทรีย์ของแห้วหมูและสะเดาต่อเชื้อก่อโรคใน L.) ในตำารายาแพทย์แผนไทยมีการใช้สมุนไพรใน
มนุษย์ ทำาการทดสอบเตรียมสารสกัดแห้วหมูและ พิกัดเบญจผลธาตุในการรักษาโรคในระบบทางเดิน
สะเดา โดยใช้ บิวทานอล, เอทานอล, เมทานอล, ปัสสาวะ จากงานวิจัยนี้พบว่าตำารับเบญจผลธาตุ
คลอโรฟอร์ม, โพรพานอล, เฮกเซน, ไดเอทิลอีเทอร์ มีสมุนไพรที่มีคุณสมบัติยับยั้งเชื้อก่อโรคทางเดิน
และนำ้า เป็นตัวทำาละลาย แล้วนำาไปทดสอบกับเชื้อ S. ปัสสาวะที่สำาคัญ ได้แก่ E. faecalis คือ กกลังกา
aureus, E. faecalis, Bacillus subtilis และ E. coli และเต่าเกียด โดยพบสารพฤกษเคมีในกลุ่มฟลาโว-
พบว่า สารสกัดแห้วหมูจาก ไดเอทิลอีเทอร์, เฮกเซน นอยด์ เทอร์พีนอยด์ ซาโปนินและแทนนิน ซึ่งควรมี
และนำ้า ไม่มีฤทธิ์ยับยั้งเชื้อ ส่วนตัวทำาละลายที่เหลือ การศึกษาต่อไปในอนาคตถึงสารสำาคัญที่ออกฤทธิ์
ได้แก่ บิวทานอล, เอทานอล, เมทานอล, คลอโรฟอร์ม ต้านเชื้อ เพื่อใช้เป็นต้นแบบในการพัฒนายาปฏิชีวนะ
และ โพรพานอล มีฤทธิ์ยับยั้งเชื้อทุกตัว นอกจากนี้ ต่อไป ส่วนแห้วหมู หญ้าชันกาด และเปราะหอมถึง
[23]