Page 101 - วารสารปีที่17ฉบับที่1
P. 101

J Thai Trad Alt Med                                    Vol. 17  No. 1  Jan-Apr 2019  91




            ตารางที่ 3 ฤทธิ์ต้านแบคทีเรียของสารสกัดจากสมุนไพรในเบญจผลธาตุ

                                                                    E. coli           E. faecalis
             สารสกัด
                                                                 MIC (mg/ml)         MIC (mg/ml)

             หัวกกลังกา (Cyperus alternifolius L.)                   ND                 62.5
             หัวเต่าเกียด (Homalomena aromatica (Spreng.) Schott)    ND                100.00
             หัวแห้วหมู (Cyperus rotundus L.)                        ND                  ND
             หัวหญ้าชันกาด (Panicum repens L.)                       ND                  ND
             หัวเปราะหอม (Kaempferia galanga L.)                     ND                  ND
             เบญจผลธาตุ (ต�ารับ)                                     ND                  ND

            หมายเหตุ : ND หมายถึง ไม่มีฤทธิ์ในการยับยั้ง



                 การศึกษาความเข้มข้นของสารสกัดจาก       เป็นสารประกอบหลัก ซึ่งมีความซับซ้อนน้อยกว่า
            สมุนไพรในเบญจผลธาตุ ระดับต่ำาที่สุดที่สามารถฆ่า  เมื่อเทียบกับแบคทีเรียแกรมลบ ดังนั้นผนังเซลล์

            แบคทีเรีย ที่ติดเชื้อในทางเดินปัสสาวะ (MBC) โดย  ของแบคทีเรียแกรมบวกจึงถูกทำาลายได้ง่ายกว่า
            นำาอาหารเลี้ยงเชื้อจากหลุมที่ไม่เกิดความขุ่นซึ่งได้แก่   แบคทีเรียแกรมลบ  ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยฤทธิ์
                                                                       [17]
            สารสกัดจากกกลังกาและเต่าเกียดไปเพาะเลี้ยงเชื้อบน   ของสารสกัดสมุนไพรไทยต่อการยับยั้งเชื้อแบคทีเรีย

            MHA แล้วนำาไปบ่มในตู้อบเพาะเลี้ยงเชื้ออุณหภูมิ   Staphylococcus aureus ATCC 25923, Bacillus
            37˚C เป็นเวลา 24 ชั่วโมง พบว่า สารสกัดจากเบญจ  cereus และ Escherichia coli ATCC 25922 ซึ่ง
            ผลธาตุ กกลังกา เต่าเกียด แห้วหมู หญ้าชันกาด และ  ฤทธิ์ของสารสกัดสมุนไพรไทย 10 ชนิด ได้แก่ ขมิ้นชัน

            เปราะหอม ไม่สามารถฆ่าแบคทีเรีย E. coli และ E.   ชุมเห็ดเทศ จันทน์แดง จันทน์แปดกลีบ ฝาง พริก
            faecalis                                    ไทยดำา ฟ้าทะลายโจร ยี่หร่า สมอไทย และอบเชยโดย

                                                        ใช้ 95% เอทานอลเป็นตัวสกัด พบว่า แบคทีเรียแกรม
                           อภิปร�ยผล                    บวกจะถูกยับยั้งได้ดีกว่าแบคทีเรียแกรมลบ [18]

                 จากผลการวิจัยที่แสดงให้เห็นว่า สารสกัดจาก     จากผลการทดสอบพฤกษเคมีของกกลังกา

            กกลังกาและเต่าเกียดสามารถยับยั้ง E. faecalis ได้   และเต่าเกียด พบว่ามีสารกลุ่ม เทอร์พีนอยด์ ฟลาโว-
            เพราะ E. faecalis เป็นแบคทีเรียแกรมบวก ซึ่งโดย  นอยด์ แทนนิน และ ซาโปนิน ซึ่งสอดคล้องกับงาน
            ทั่วไปแล้วสารสกัดจากสมุนไพรจะสามารถยับยั้ง  วิจัยการทดสอบฤทธิ์การต้านแบคทีเรีย การต้านราที่

            แบคทีเรียแกรมบวกได้ดีกว่าแกรมลบ เนื่องจาก   ก่อโรคในมนุษย์และวิเคราะห์พฤกษเคมีในพืชทะเล
            โครงสร้างของแบคทีเรียที่แตกต่างกัน ผนังเซลล์  ทรายที่พบว่ากกลังกาพบสารกลุ่ม เทอร์พีนอยด์

            ของแบคทีเรียแกรมลบประกอบด้วยเมมเบรนชั้น     ฟลาโวนอยด์ แทนนิน  และ งานวิจัยการทดสอบ
                                                                         [19]
            นอก (outer membrane) ซึ่งล้อมรอบเพปติโดไกล  พฤกษเคมีและฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระของสารสกัดจาก
            แคน ส่วนแบคทีเรียแกรมบวกมีเพปติโดไกลแคน     หัวเต่าเกียด พบสารกลุ่ม เทอร์พีนอยด์ ฟลาโวนอยด์
   96   97   98   99   100   101   102   103   104   105   106