Page 99 - วารสารปีที่17ฉบับที่1
P. 99
J Thai Trad Alt Med Vol. 17 No. 1 Jan-Apr 2019 89
ชิ้นเล็ก ๆ ลงไป 1 ชิ้น และหยดกรดไฮโดรคลอริกเข้ม มิลลิลิตร ปริมาณ 50 ไมโครลิตร เติมเชื้อแบคทีเรีย
7
ข้น (HCl conc.) จำานวน 5 หยด เขย่า แล้วนำาไปอุ่น จำานวนเซลล์ 10 CFU/ml ลงไปในหลุมปริมาณ 50
บนเครื่องอังนำ้า 5 นาที ถ้าสารละลายเปลี่ยนเป็นสี ไมโครลิตร บ่มเลี้ยงเชื้อที่อุณหภูมิ 37˚C เป็นเวลา 24
เหลือง ส้ม หรือแดง แสดงว่า พบฟลาโวนอยด์ ชั่วโมง ค่า MIC คือค่าความเข้มข้นตำ่าสุดที่ไม่เห็นการ
2.4 การตรวจสอบสารกลุ่มซาโปนิน: เจริญเติบโตของแบคทีเรีย สังเกตได้จากความขุ่น การ
ทดสอบการเกิดฟอง โดยชั่งสารสกัด 200 มิลลิกรัม ทดลองทำา 3 ซำ้า
เติมนำ้ากลั่น ปริมาตร 5.0 มิลลิลิตร นำาไปอุ่นบนเครื่อง 3.2 Minimum bactericidal concentration
อังนำ้า 5 นาที เขย่าอย่างแรง ถ้าปรากฏฟองถาวรเกิด (MBC) [16]
ขึ้นในหลอดทดลอง แสดงว่าพบซาโปนิน วิเคราะห์ MBC ด้วยการนำาอาหารเลี้ยงเชื้อจาก
2.5 การตรวจสอบสารกลุ่มแทนนิน: ชั่งสาร หลุมที่ไม่เกิดความขุ่นไปเพาะเลี้ยงเชื้อบน MHA แล้ว
สกัดมา 200 มิลลิกรัม เติมนำ้ากลั่น ปริมาตร 1.0 นำาไปบ่มในตู้อบเพาะเลี้ยงเชื้ออุณหภูมิ 37˚C เป็น
มิลลิลิตร นำาไปอุ่นบนเครื่องอังนำ้า 5 นาที กรองส่วนที่ เวลา 24 ชั่วโมง ความเข้มข้นตำ่าสุดที่ไม่เห็นเชื้อ
ไม่ละลายออก นำาของเหลวที่ได้จากการกรอง เติมสาร แบคทีเรียเจริญเติบโต จะเป็นค่า MBC การทดลองทำา
ละลายเฟอริกคลอไรด์ (1% FeCl ) จำานวน 5 หยด 3 ซำ้า
3
เขย่า ถ้าปรากฏสารละลายเป็นสีเขียวดำาหรือนำ้าเงินดำา
แสดงว่าพบแทนนิน ผลก�รศึกษ�
[15]
3. การทดสอบฤทธิ์ต้านแบคทีเรีย
3.1 เพาะเลี้ยงแบคทีเรียแต่ละชนิดในอาหาร 1. ก�รสกัดส�รจ�กสมุนไพร
เลี้ยงชนิด TSB เป็นเวลา 18-24 ชั่วโมง ที่อุณหภูมิ จากสมุนไพรเดี่ยวทั้ง 5 ชนิด และ เบญจผลธาตุ
37˚C เมื่อนำามาสกัดด้วยนำ้าและทำาให้แห้งด้วย freeze dry
3.1 Minimum inhibition concentration พบว่าสารสกัดกกลังกา ลักษณะผงสีนำ้าตาลดำาเข้ม
(MIC) ปริมาณ yield crude extract มากที่สุดได้ 3.52%
ทำาการทดสอบด้วยวิธี microdilution method รองลงมาคือสารสกัดเต่าเกียด ลักษณะผงสีนำ้าตาลส้ม
โดยละลายสารสกัดแต่ละชนิดด้วยนำ้ากลั่นปลอดเชื้อ ปริมาณ ได้ yield crude extract 2.54% สารสกัด
ปรับความเข้มข้นตามความสามารถในการละลาย เปราะหอม ลักษณะผงสีเหลืองขาว ได้ปริมาณ yield
สูงสุด จากนั้นนำาสารสกัดสมุนไพรมาเจือจางลงทีละ crude extract 2.02% สารสกัดหญ้าชันกาด
2 เท่าด้วยอาหารเลี้ยงเชื้อ Muller Hinton broth ลักษณะผงสีเหลืองขาว ได้ปริมาณ yield crude
(MHB) ใน 96 well plate กกลังกามีความเข้มข้น extract 1.92% และสารสกัดแห้วหมู ลักษณะผงสี
ระหว่าง 0.49-250.0 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร เต่าเกียด นำ้าตาล ปริมาณ yield crude extract น้อยที่สุด
มีความเข้มข้นระหว่าง 0.195-100.0 มิลลิกรัมต่อ ได้ 1.06% ส่วนสารสกัดที่ได้จากเบญจผลธาตุ
มิลลิลิตร แห้วหมู หญ้าขันกาด เปราะหอม และเบญจ ลักษณะผงสีนำ้าตาล ได้ปริมาณ yield crude ex-
ผลธาตุ มีความเข้มข้นระหว่าง 0.097-50 มิลลิกรัมต่อ tract 1.26% ดังตารางที่ 1