Page 100 - วารสารปีที่17ฉบับที่1
P. 100

90 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก       ปีที่ 17  ฉบับที่ 1  มกราคม-เมษายน 2562




           ตารางที่ 1 ร้อยละของสารสกัดต่อน�้าหนักแห้งและลักษณะของสารสกัดสมุนไพรในเบญจผลธาตุ

            สมุนไพร                                       yield crude extract (%)   ลักษณะสารสกัด
            หัวกกลังกา (Cyperus alternifolius L.)               3.52             ผงสีน�้าตาลด�าเข้ม
            หัวเต่าเกียด (Homalomena aromatica (Spreng.) Schott)   2.54            ผงสีน�้าตาลส้ม
            หัวแห้วหมู (Cyperus rotundus L.)                    1.06                ผงสีน�้าตาล
            หัวหญ้าชันกาด (Panicum repens L.)                   1.92               ผงสีเหลืองขาว
            หัวเปราะหอม (Kaempferia galanga L.)                 2.02               ผงสีเหลืองขาว
            เบญจผลธาตุ (ต�ารับ)                                 1.26                ผงสีน�้าตาล





           2. ก�รทดสอบห�พฤกษเคมี                       สมุนไพรในเบญจผลธาตุ ระดับตำ่าที่สุดที่สามารถ

                การศึกษาพฤกษเคมีของสารสกัดจากสมุนไพร   ยับยั้งการเจริญของแบคทีเรียที่ก่อโรคติดชื้อในระบบ
           เดี่ยวในเบญจผลธาตุ ด้วยวิธีการต้มและทำาให้  ทางเดินปัสสาวะ (MIC) พบว่า สารสกัดจากกกลังกา
           แห้งด้วยเครื่อง freeze dry พบว่า กกลังกา และ   และสารสกัดจากเต่าเกียด สามารถยับยั้งการเจริญ

           เต่าเกียด พบสารกลุ่มเทอร์พีนอยด์ ฟลาโวนอยด์    ของเชื้อ E. faecalis ที่ความเข้มข้น 62.5 mg/ml
           ซาโปนิน และแทนนิน แห้วหมูพบสารกลุ่ม แอลคา   และ 100 mg/ml ตามลำาดับ ส่วนสารสกัดจากเบญ-

           ลอยด์ เทอร์พีนอยด์ ฟลาโวนอยด์ และ แทนนิน เปราะ  ผลธาตุ แห้วหมู หญ้าชันกาด และเปราะหอม ไม่มีฤทธิ์
           หอมพบสารกลุ่มแอลคาลอยด์ และ ฟลาโวนอยด์ และ  ในการยับยั้งเชื้อ E. faecalis ส่วนความสามารถใน
           หญ้าชันกาดพบสารกลุ่มซาโปนิน ดังตารางที่ 2   การยับยั้งการเจริญของเชื้อ E. coli พบว่าสารสกัด
                                                       จาก เบญจผลธาตุ กกลังกา เต่าเกียด แห้วหมู หญ้า
           3. ก�รทดสอบฤทธิ์ต้�นแบคทีเรีย               ชันกาด และ เปราะหอม ไม่พบฤทธิ์ในการยับยั้งเชื้อที่

                การศึกษาความเข้มข้นของสารสกัดจาก       ความเข้มข้นที่ใช้ทดสอบ ดังตารางที่ 3



           ตารางที่ 2 ผลการตรวจสอบองค์ประกอบพฤกษเคมีของสมุนไพรในเบญจผลธาตุ

                                                                  สารพฤกษเคมี
            สารสกัด
                                               แอลคาลอยด์  เทอร์พีนอยด์  ฟลาโวนอยด์  ซาโปนิน  แทนนิน
            หัวกกลังกา (Cyperus alternifolius L.)   -          +          +        +       +
            หัวเต่าเกียด (Homalomena aromatica (Spreng.)    -   +         +        +       +
            Schott)
            หัวแห้วหมู (Cyperus rotundus L.)        +          +          +        -       +
            หัวหญ้าชันกาด (Panicum repens L.)       -          -          -        +       -
            หัวเปราะหอม (Kaempferia galanga L.)     +          +          -        -       -

           + = พบสารพฤกษเคมี ; - = ไม่พบสารพฤกษเคมี
   95   96   97   98   99   100   101   102   103   104   105