Page 88 - วารสารปีที่17ฉบับที่1
P. 88
78 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 17 ฉบับที่ 1 มกราคม-เมษายน 2562
A Comparison of Effectiveness of Moxibustion and Acupuncture on Pain Relief
for Lumbar Herniated Disc
Nakornsub Lawcharoen , Thawinee Chuayure
*
Traditional Chinese medicine department, School of Health Sciences, Mae Fah Luang University, Chiang Rai 57100, Thailand
* Corresponding author: nakornsub.law@mfu.ac.th
Abstract
This study aimed to compare the effectiveness of acupuncture and moxibustion in reducing back pain
from lumbar disc herniation nerves pain. 79 volunteer patients were selected from Po District Health Promotion
Hospital, Wiang Kean District, Chiang Rai Province who had been diagnosed with symptoms of back pain from
a hernia. Pain levels felt by the volunteers were measured using a visual analogue scale (VAS). The patients were
divided into two groups. There were 40 patients in the experimental group treated by moxibustion and 39 patients
in the control group treated by acupuncture. Both groups selected SHENSHU point (BL23), DACHANGSHU
point (BL25), ZHIBIAN point (BL54) and HUANTIAO point (GB30) for treatment. Treatment occurred once a
week for 20 minutes, for a total of 8 times. The pain score was measured once the course of treatment had ended.
The data were collected again in both groups. The results of the pain study showed that the control group had an
average pain score of 2.38 ± 0.88 and the experimental group had an average pain score of 2.88 ± 0.91. The mean
pain scores for both groups from before and after the treatment were then compared. The differences were statisti-
cally significantly (p < 0.05). The pain scores in both groups were not statistically different (p > 0.05). The results
indicate that moxibustion is as effective as acupuncture in reducing back pain from lumbar disc herniation nerve
pain. This may be an alternative to treating back pain.
Key words: acupuncture, moxibustion, back pain from lumbar disc herniation nerve pain, lower back pain
บทนำ� และอ่อนแรงได้ โดยเฉพาะบริเวณเท้า และข้อเท้าจะมี
โรคหมอนรองกระดูกทับเส้นประสาท คือ โรค อาการอ่อนแรงได้ และมักเป็นที่ขาข้างเดียว การแพทย์
ที่เกิดจากการเคลื่อนของหมอนรองกระดูก ซึ่งการ แผนจีนได้จัดโรคหมอนรองกระดูกทับเส้นประสาท
เคลื่อนนั้นหมายรวมถึงการแตกของหมอนรองกระดูก ให้อยู่ในกลุ่มโรคปวดเมื่อย และชา (bi zheng ภาวะ
หรือเกิดการปลิ้นออกมาของหมอนรองกระดูก ถ้า โรคปวดเหตุติดขัด) เกิดจากเสียชี่ภายนอก (สาเหตุ
หมอนรองกระดูกเคลื่อนออกมาเฉย ๆ ไม่ได้กดทับ ก่อโรคภายนอกเช่น ลม ความเย็น ความชื้น ความ
รากประสาท ผู้ป่วยจะมีอาการปวดอย่างเดียว เป็น ร้อน เป็นต้น อุดกั้นเส้นลมปราณ ทำาให้ชี่และเลือด
อาการปวดเฉพาะที่ คือปวดบริเวณเอวด้านล่าง และ ไหลเวียนไม่คล่อง) ทำาให้แขนขา เอ็นกระดูก ข้อต่อ
ลงมาถึงสะโพก หรือต้นขาด้านหลังได้ หากหมอนรอง กล้ามเนื้อ เกิดอาการเจ็บปวด เมื่อยล้าหรือชา หรือ
กระดูกเคลื่อนกดทับรากประสาท ผู้ป่วยจะมีอาการ ทำาให้ข้อต่อนั้นเคลื่อนไหวไม่สะดวก หรือทำาให้ข้อต่อ
ค่อนข้างมาก คือ มีอาการปวดขาร่วมกับมีอาการชา นั้นเกิดอาการแข็งหรือบวมหรือผิดรูปไป ตำาราซานอิน