Page 84 - วารสารปีที่17ฉบับที่1
P. 84

74 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก       ปีที่ 17  ฉบับที่ 1  มกราคม-เมษายน 2562




           ป่วยที่มีกลุ่มอาการก่อนมีประจำาเดือน ใช้ประกอบการ  สามารถลดอาการปวดประจำาเดือนอย่างมีนัยสำาคัญ
           พิจารณาเลือกใช้ยาประสะไพลเป็นยาทางเลือกสำาหรับ  ทางสถิติ โดยผลในการลดปวดประจำาเดือนน่าจะมา

           รักษาภาวะดังกล่าว                           จากฤทธิ์ยับยั้งการหดตัวของมดลูก และยับยั้งการ
                เมื่อพิจารณาลักษณะของกลุ่มตัวอย่าง พบว่า  สร้างพรอสตาแกรนดินซึ่งเป็นสารสื่อประสาทของ
           กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่อยู่ในช่วงอายุระหว่าง 19-29   กระบวนการปวดและอักเสบในร่างกาย [8,16-17]

           ปี และอาการที่พบบ่อย คือ ประจำาเดือนเว้นช่วงห่าง      ในด้านความปลอดภัยของยาประสะไพล หลัง
           ทั้งนี้อาจเนื่องมาจากเป็นอาการที่เห็นได้เด่นชัดและ  การติดตาม 3 ครั้ง ได้แก่ ครั้งที่ 1 (วันที่ 7) ครั้งที่ 2
           ผู้ป่วยตระหนักว่าความผิดปกตินี้เป็นปัญหาที่ต้อง  (รอบเดือนที่ 1) และครั้งที่ 3 (รอบเดือนที่ 2) หลังการ

           รักษา นอกจากนี้ ผู้เข้าร่วมวิจัยทุกคนยังมีปัญหาจาก  ใช้ยา โดยผู้ป่วยกินยาเป็นช่วง ๆ เมื่อมีประจำาเดือนก็
           กลุ่มอาการก่อนมีประจำาเดือนหรือมีภาวะปวดประจำา  หยุดรับประทานยา เมื่อประจำาเดือนหายก็เริ่มรับ
           เดือนร่วมด้วย โดยอาการที่พบมากที่สุด 3 อันดับแรก   ประทานยาใหม่ พบว่าไม่มีผู้ที่เกิดอาการข้างเคียงจาก

           คือ เจ็บคัดเต้านม ปวดท้องน้อย มีสิวและหิวบ่อย โดย  การใช้ยาแคปซูลประสะไพลเมื่อใช้ยานาน 2 รอบเดือน
           การปวดประจำาเดือนเป็นปัญหาสำาคัญที่ทำาให้ผู้ป่วย  (ระยะการติดตาม 60-75 วัน) จึงอาจกล่าวได้ว่า ยานี้

           มาร้านยาเพื่อหาวิธีในการรักษาหรือบรรเทาอาการ   มีความปลอดภัยในการใช้ระยะสั้น เพื่อรักษาภาวะ
           ทั้งนี้เนื่องจากการปวดประจำาเดือนส่งผลกระทบต่อ  ประจำาเดือนมาไม่ปกติในผู้เข้าร่วมวิจัยสุขภาพดีที่ไม่มี
           การเรียน และการใช้ชีวิตประจำาวันของผู้เข้าร่วมวิจัย   โรคประจำาตัวใด ๆ ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยก่อนหน้า

                                                                              [8]
           สอดคล้องกับผลการศึกษาของกมลศักดิ์และคณะ     ของสมศักดิ์ นวลแก้วและคณะ  ซึ่งทดสอบความเป็น
           ที่ทำาการศึกษาในนักศึกษาหญิงชั้นปีที่ 1 และ 2 ของ  พิษเฉียบพลันในหนูทดลอง พบว่ายาประสะไพลสกัด

           มหาวิทยาลัยราชภัฎนครปฐม และพบว่าผู้เข้าร่วมวิจัย  ด้วยนำ้าและแอลกอฮอล์สามารถให้ได้สูงสุดถึง 20
           มากกว่าร้อยละ 60 ลงความเห็นว่าอาการปวดประจำา  กรัม/กิโลกรัม โดยหนูทุกตัวรอดชีวิตและไม่มีอาการ
                                         [14]
           เดือนจะทำาให้สมาธิในการเรียนลดลง  ซึ่งผลการ  ใด ๆ ในระยะเวลา 24 ชั่วโมงหลังจากให้ยา และ
           ศึกษานี้ พบว่ายาประสะไพลสามารถลดอาการปวด    สอดคล้องกับการศึกษาของจันธิดา กมลาสน์หิรัญ
                                                                           [9]
           ประจำาเดือนได้อย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติ โดยการ  และอรวรรณ เล็กสกุลไชย  ที่ศึกษาถึงประสิทธิผล
           ประเมินอาการปวดประจำาเดือนด้วยวิธีการสอบถาม  และผลข้างเคียงของสารสกัดตำารับยาประสะไพล

           ระดับความปวดด้วยวาจา (verbal rating scale;   เปรียบเทียบกับ Mefenamic acid ในการลดอาการ
           VRS) หลังจากใช้ยาประสะไพลที่รอบเดือนที่ 1 และ   ปวดประจำาเดือนชนิดปฐมภูมิ ซึ่งพบว่าผลการตรวจ
           2 พบว่าระดับความรุนแรงในการปวดลดลงอย่างมี   ร่างกายของผู้เข้าร่วมวิจัยทั้ง 2 กลุ่มหลังจากรับ

           นัยสำาคัญทางสถิติและทางคลินิก คือ ลดจากระดับ  ประทานยาครบ 3 เดือน ไม่มีการเปลี่ยนแปลงทางด้าน
           การปวดปานกลางถึงรุนแรงมาเป็นปวดเล็กน้อยถึง  กายภาพ ค่าชีวเคมีในเลือด การทำางานของตับ และ

           ไม่ปวดเลย ซึ่งสอดคล้องกับการทางคลินิกที่ผ่านมา  การทำางานของไต และไม่พบอาการข้างเคียงที่รุนแรง
           หลายการศึกษา [9-11,15]  ที่ทำาการศึกษาในสตรีที่มีภาวะ  ทางคลินิกของยาประสะไพล อย่างไรก็ตามเนื่องจาก
           ปวดประจำาเดือนและพบว่ายาแคปซูลประสะไพล      การรักษาภาวะประจำาเดือนมาไม่ปกติจำาเป็นต้องรับ
   79   80   81   82   83   84   85   86   87   88   89