Page 92 - วารสารปีที่17ฉบับที่1
P. 92
82 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 17 ฉบับที่ 1 มกราคม-เมษายน 2562
8 ครั้ง เทียบ (ฝังเข็ม) 39 ราย กลุ่มทดลอง (รมยา) 40 ราย
เมื่อเปรียบเทียบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยระดับ
ก�รเก็บข้อมูล และวิเคร�ะห์ท�งสถิติ ความเจ็บปวดระหว่างกลุ่มเปรียบเทียบ และทดลอง
ในการศึกษาครั้งนี้ ข้อมูลระดับความเจ็บปวด พบว่ากลุ่มเปรียบเทียบมีคะแนนความปวดเฉลี่ย
เก็บโดยใช้แบบประเมินความปวดชนิด visual ana- 7.38 ± 1.09 และกลุ่มทดลองมีคะแนนความปวด
log scale (VAS) เกณฑ์ 0 หมายถึงไม่มีอาการปวด เฉลี่ย 7.08 ± 1.10 โดยค่าคะแนนความปวดก่อนการ
จนถึง 10 หมายถึง มีอาการปวดมากที่สุด รักษาระหว่างสองกลุ่มไม่แตกต่างกันในทางสถิติ (p
คำานวณหาค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน > 0.05)
ทดสอบเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยคะแนนความปวด การ
เปรียบเทียบภายในกลุ่มใช้ paired t-test และการ ผลก�รศึกษ�เปรียบเทียบระดับคว�มปวด
เปรียบเทียบระหว่างกลุ่มใช้ unpaired t-test โดยใช้ จากผลการศึกษาระดับความปวด หลังสิ้นสุด
โปรแกรมทางสถิติ SPSS package (SPSS version การรักษากลุ่มฝังเข็มมีคะแนนความปวดเฉลี่ย 2.38
21.0; SPSS Inc., Chicago, IL, USA) โดยใช้ระดับ ± 0.88 กลุ่มรมยามีคะแนนความปวดเฉลี่ย 2.88
นัยสำาคัญทางสถิติที่ระดับ p < 0.05 ± 0.91 เมื่อเปรียบเทียบความแตกต่างของค่าเฉลี่ย
คะแนนความปวดก่อนและหลังการรักษาในทั้งสอง
ผลก�รศึกษ� กลุ่ม พบว่าแตกต่างกันอย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติ (p
< 0.05) เมื่อเปรียบเทียบความแตกต่างของค่าเฉลี่ย
ข้อมูลทั่วไป คะแนนความปวดระหว่างกลุ่มฝังเข็มและกลุ่มรมยา
มีจำานวนผู้เข้าร่วมวิจัยที่เข้าได้กับเกณฑ์การ พบว่าหลังการรักษาคะแนนความปวดทั้งสองกลุ่มไม่
คัดเข้าโครงการจำานวน 79 ราย แบ่งเป็นกลุ่มเปรียบ แตกต่างกันในทางสถิติ (p > 0.05)
ภาพที่ 1 เปรียบเทียบคะแนนความเจ็บปวดของกลุ่มทดลองและกลุ่มเปรียบเทียบ