Page 83 - วารสารปีที่17ฉบับที่1
P. 83
J Thai Trad Alt Med Vol. 17 No. 1 Jan-Apr 2019 73
ขนาดตัวอย่างน้อย (5 และ 1 คนตามลำาดับ) จึงไม่ การช่วยขับประจำาเดือนและทำาให้อาการประจำาเดือน
พบความแตกต่างอย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติ จึงควรมี ผิดปกติของผู้เข้าร่วมวิจัยส่วนใหญ่หายหรือดีขึ้นได้
การศึกษาเพิ่มเติมในกลุ่มตัวอย่างที่มากขึ้น ส่วนกลุ่ม อย่างไรก็ตาม เพื่อให้เข้าใจถึงกลไกการออกฤทธิ์ที่แท้
ประจำาเดือนขาด พบว่าอาการไม่หายและไม่ดีขึ้นหลัง จริงของยาตำารับนี้และสามารถเลือกใช้ยาให้เหมาะสม
ใช้ยาประสะไพล อย่างไรก็ตามยังไม่สามารถสรุปได้ว่า กับผู้ป่วยมากขึ้น ควรมีการศึกษาฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
ยาประสะไพลมีประสิทธิผลหรือไม่ ในการรักษาภาวะ หรือกลไกการออกฤทธิ์ของยาประสะไพลต่อภาวะ
ประจำาเดือนขาด เนื่องจากมีผู้เข้าร่วมวิจัยในกลุ่มนี้ ประจำาเดือนผิดปกติเพิ่มเติม
เพียง 1 คนซึ่งมีภาวะประจำาเดือนขาดมานาน 1 ปี จึง เมื่อติดตามผลของยาประสะไพลต่อกลุ่มอาการ
เป็นการยากที่จะรักษาภาวะนี้ด้วยยาสมุนไพรและเห็น ก่อนมีประจำาเดือนได้แก่ เจ็บคัดเต้านม อารมณ์
ผลในการศึกษาระยะสั้น ดังนั้นจึงควรมีการศึกษาใน หงุดหงิด ปวดท้องน้อย มีสิว ปวดเมื่อยหลัง ท้องอืด
ผู้เข้าร่วมวิจัยกลุ่มนี้เพิ่มเติม เมื่อพิจารณาฤทธิ์ทาง ท้องเฟ้อและหิวบ่อย พบว่าหลังรับประทานยาประสะ
เภสัชวิทยาของประสะไพลต่อภาวะประจำาเดือนผิด ไพลไป 2 รอบเดือน จำานวนคนที่มีอาการก่อนมีประจำา
ปกติพบว่ายังมีข้อมูลจำากัด คือ มีเพียงการศึกษาของ เดือนลดลงอย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติ ซึ่งอาจเนื่องจาก
สมศักดิ์ นวลแก้ว ซึ่งทดสอบฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาและ ยาประสะไพลทำาให้ผู้เข้าร่วมวิจัยที่ภาวะประจำาเดือน
รายงานว่าสารสกัดประสะไพลไม่มีฤทธิ์คล้ายฮอร์โมน ผิดปกติมีอาการดีขึ้น หรือหายจากอาการผิดปกติ จึง
[8]
เอสโตรเจน แต่พบว่าสารสกัดประสะไพลสามารถ อาจส่งผลไปถึงกลุ่มอาการก่อนมีประจำาเดือนด้วย แต่
ยับยั้งการหดตัวของมดลูกได้ โดยสารที่สกัดจาก ปัจจุบันยังไม่มีข้อมูลมาอธิบายว่าเหตุใดยาประสะ-
เอทานอลจะมีความแรงมากที่สุด ส่วนสารสกัดจาก ไพลจึงสามารถบรรเทาหรือรักษากลุ่มอาการก่อนมี
เฮกเซน (Hexane extract 25 ไมโครกรัม/มิลลิลิตร) ประจำาเดือนได้ จึงควรมีการศึกษาเพิ่มเติมถึงผลของ
จะมีความแรงมากที่สุดในการลดการอักเสบผ่านการ ประสะไพลในรักษาหรือป้องกันการเกิดกลุ่มอาการนี้
ยับยั้งเอนไซม์ cyclooxygenase (COX) โดยสามารถ เนื่องจากเป็นกลุ่มอาการที่จัดว่าเป็นปัญหาสำาคัญอย่าง
ยับยั้งเอนไซม์ COX-1 และ COX-2 ได้ร้อยละ 64.4 หนึ่งที่รบกวนชีวิตประจำาวันของผู้ป่วยจนทำาให้ต้องมา
[13]
และ 84.5 ตามลำาดับ ซึ่งฤทธิ์ที่กล่าวมาข้างต้นไม่ พบแพทย์ จากข้อมูลหลักฐานเชิงประจักษ์ทางการ
สามารถใช้อธิบายผลของยาประสะไพลในการรักษา แพทย์ในปัจจุบัน พบว่ายาที่แนะนำาให้ใช้สำาหรับการ
ภาวะประจำาเดือนผิดปกติได้ แต่เมื่อพิจารณารสยา รักษากลุ่มอาการก่อนมีประจำาเดือน คือ ยาในกลุ่ม
ตามหลักการแพทย์แผนไทย พบว่า ตำารับประสะไพล ยับยั้งการเก็บกลับของสารซีโรโตนินแบบจำาเพาะ
ประกอบด้วยตัวยารสร้อนฝาด เผ็ดร้อนและร้อนปร่า (selective serotonin reuptake inhibitors) และ
ทำาให้ทั้งตำารับออกฤทธิ์ไปในทางร้อน เมื่อรับประทาน ยาคุมกำาเนิดชนิดรับประทาน ซึ่งเป็นยาที่มีอาการ
[13]
จึงทำาให้ความร้อนในร่างกายและในเลือดเพิ่มขึ้น ไม่พึงประสงค์และข้อจำากัดในการใช้หลายอย่าง เช่น
เลือดจึงเหลวขึ้น ทำาให้เลือดในร่างกายรวมทั้งเลือด มีผลต่อความดันโลหิต มีข้อควรระวังในผู้ป่วยโรค
ประจำาเดือนไหลดีขึ้นตามหลักการทางฟิสิกส์ของเหลว ในระบบหลอดเลือดและหัวใจ ดังนั้นจึงเป็นการดีที่
จึงอาจใช้คุณสมบัติของรสยาอธิบายผลของตำารับใน ผลการศึกษานี้ จะเป็นข้อมูลเบื้องต้นให้แพทย์หรือผู้