Page 89 - วารสารปีที่17ฉบับที่1
P. 89
J Thai Trad Alt Med Vol. 17 No. 1 Jan-Apr 2019 79
จี๋ (San Yin Ji ตำาราเกี่ยวกับทฤษฎีสาเหตุของโรค) บริเวณเท้าร่วมด้วย [1-3]
ตำาราปิ้งเจิ้งฟางลุ่น (Bing Zheng Fang Lun ตำารา จากการศึกษาครั้งนี้เห็นได้ว่าทั้งการรมยา และ
เกี่ยวกับกลุ่มอาการและสูตรการผสมผสานของปัจจัย การฝังเข็มสามารถลดอาการปวดหลังจากหมอนรอง
ก่อโรคทั้งสามกลุ่ม) และตำาราปี้ซวี่ลุ่น (Bi Xu Lun กระดูกทับเส้นประสาท แต่ในประเทศไทยยังไม่พบ
ตำาราเกี่ยวกับปัจจัยก่อโรคทั้งสามกลุ่มรวมกันเกิดเป็น การศึกษาเปรียบเทียบระหว่างทั้งสองวิธี ดังนั้นการ
อัมพาต) กล่าวว่า “เมื่อมีอาการติดขัดมากจะเกิดเป็น วิจัยนี้จึงศึกษาการประเมินการลดอาการปวดหลัง
โรค ถ้าได้รับความเย็นมากจะทำาให้มีอาการปวด ถ้าได้ เพื่อนำาวิธีการรักษาตามศาสตร์การแพทย์แผนจีนซึ่ง
รับลมมากจะทำาให้มีอาการปวดแบบไม่อยู่กับที่ ถ้าได้ มีหลากหลายวิธีในตำาราต่าง ๆ มาหาจุดเด่นจุดด้อย
รับความชื้นมากจะทำาให้รู้สึกหนัก และยกไม่ขึ้น ถ้าไป ของแต่ละวิธี เพื่อเป็นประโยชน์แก่แพทย์จีนในการ
สะสมตามเส้นเอ็นจะทำาให้งอและยืดออกมาไม่ได้ ถ้า เลือกใช้กับผู้ป่วยอย่างเหมาะสม แม้ว่าการฝังเข็มจะ
ไปสะสมตามกล้ามเนื้อจะทำาให้มีอาการเหน็บชาและ ใช้ได้อย่างกว้างขวาง แต่มีข้อเสียคือความเจ็บปวด
ไร้ความรู้สึก จากข้างต้นที่กล่าวมาเมื่อเลยวัยกลาง ในขณะแทงเข็มลงบนผิวหนังคนไข้ และความพร้อม
คนไปแล้ว ตับและไตจะค่อย ๆ พร่องและอ่อนแอลง ของคนไข้ที่มารับการบำาบัดรักษา หากไม่ระวังอาจเกิด
ชี่ของม้ามก็อ่อนแอตามไปด้วย ทำาให้เลือดและสาร อาการช็อค เป็นลมหรือหมดสติได้ จึงถือเป็นข้อจำากัด
จิง (Jing สารจำาเป็นในร่างกาย) มีไม่เพียงพอ เส้น ของการรักษาด้วยวิธีนี้ ส่วนการรมยามีความปลอดภัย
เอ็น กระดูก กล้ามเนื้อ ชีพจรขาดการหล่อเลี้ยง บำารุง และไม่ก่อให้เกิดการเจ็บปวด ซึ่งอาจเป็นอีกทางเลือก
ซึ่งก็เป็นสาเหตุที่ทำาให้กระดูกเอ็นเสื่อมสภาพและเกิด หนึ่งแก่ผู้ป่วยในการรักษานอกเหนือจากการฝังเข็ม
โรคตามมา สาเหตุส่วนใหญ่คือ 1. อิริยาบถหรือท่าที่ไม่ และควรมีหลักฐานทางวิชาการอ้างอิงถึงประสิทธิผล
ถูกต้อง ดังได้กล่าวไว้แล้วในเรื่องปวดหลังส่วนบน 2. ในการรักษาเพื่อให้เป็นที่ยอมรับทั้งผู้ให้บริการและ
ได้รับอุบัติเหตุ เช่น หกล้มกระแทก ทำาให้กระดูกสัน ประชาชน [4-9]
หลังเคลื่อนหัก หรือ รากประสาทถูกกดทับ 3. เกิด
จากการเสื่อมของหมอนรองกระดูก ทำาให้กระดูกสัน ระเบียบวิธีศึกษ�
หลังแคบลง หรือมีหินปูนไปเกาะที่ขอบกระดูกสัน การศึกษานี้เป็นการวิจัยทดลองแบบ
หลัง อาจทำาให้กดทับถูกเส้นประสาทได้ มักพบในวัย สุ่ม (randomized controlled trial) และ
กลางคนซึ่งมักมีน้ำาหนักตัวมาก การเปลี่ยนแปลงของ เป็นการศึกษาวิจัยแบบ interventional study
กระดูก สามารถเห็นได้ในภาพถ่ายเอกซเรย์มักจะเกิด เปรียบเทียบ pre and post treatment โดย
กับกระดูกสันหลัง L3, L4, L5, S1 ซึ่งกระดูกช่วงนี้จะ ศึกษาในกลุ่มตัวอย่างซึ่งเป็นผู้ป่วยหมอนรองกระดูก
อยู่ใกล้ประสาทควบคุมส่วนเอวไปถึงขา อาการเริ่ม ทับเส้นประสาท (ผู้เข้าร่วมวิจัย) วัดผลก่อนและหลัง
ต้นจะมีอาการปวดหลังบริเวณเอว หรือมีอาการเสียว การรักษาด้วยการฝังเข็ม และการรมยา โดยได้ผ่าน
วูบไปยังขา อาการจะเป็น ๆ หาย ๆ ระยะต่อมาจะเกิด การพิจารณาอนุมัติจากคณะกรรมการจริยธรรมการ
อาการปวดหลังรุนแรงอย่างเฉียบพลัน อาจมีอาการ วิจัยในมนุษย์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง โครงการเลข
ปวดร้าวลงมายังขา อาจมีอาการชาบริเวณขา และ ชา ที่ REH-61039