Page 82 - วารสารปีที่17ฉบับที่1
P. 82

72 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก       ปีที่ 17  ฉบับที่ 1  มกราคม-เมษายน 2562




           ตารางที่ 3 ผลการติดตามกลุ่มอาการผิดปกติก่อนมีประจำาเดือนและอาการปวดประจำาเดือน

                                                       จำานวนคนที่มีอาการ (n = 24); คน (ร้อยละ)
              อาการ
                                                   ก่อนรับประทานยา    รอบเดือนที่ 2    p-value

            กลุ่มอาการผิดปกติก่อนมีประจำาเดือนโดยรวม   23 (95.8)       12 (50.0)        0.001
            ความผิดปกติเมื่อแยกตามอาการย่อย
              1) เจ็บคัดเต้านม                        18 (75.0)         6 (25.0)       < 0.001
              2) อารมณ์หงุดหงิด                       13 (54.2)         4 (16.7)        0.007
              3) ปวดท้องน้อย                          17 (70.8)         6 (25.0)        0.001
              4) มีสิว                                14 (58.3)         2 (8.3)        < 0.001
              5) ปวดเมื่อยหลัง                        12 (50.0)         2 (8.3)         0.001
              6) ท้องอืดท้องเฟ้อ                      10 (41.7)         1 (4.2)         0.004
              7) หิวบ่อย                              14 (58.3)         7 (29.2)        0.042
            อาการปวดประจำาเดือน                       16 (66.7)         6 (25.0)        0.004
           หมายเหตุ : n = จำานวนกลุ่มตัวอย่างที่ติดตามได้


           รับประทานยา คือ ลดลงจากก่อนใช้ยาที่ 6.4 ± 1.7   ร่วมวิจัยต่อเนื่อง 2 รอบเดือน (ประมาณ 60-75 วัน)
           คะแนน เป็น 2.4 ± 1.1 (p-value = 0.026) และ 2.0   พบว่ามีผู้เข้าร่วมวิจัยหายจากภาวะประจำาเดือนไม่
           ± 0.9 คะแนน (p-value = 0.026) ในรอบเดือนที่ 1   ปกติแตกต่างจากก่อนใช้ยาประสะไพลอย่างมีนัย

           และ 2 ตามลำาดับ                             สำาคัญทางสถิติ โดยเฉพาะภาวะประจำาเดือนเว้นช่วง
                                                       ห่าง และไม่พบอาการหรือรายงานการเกิดเหตุการณ์
           ผลก�รติดต�มด้�นคว�มปลอดภัยของก�รใช้ย�       ไม่พึงประสงค์จากยาประสะไพลในผู้เข้าร่วมวิจัยคน

           ประสะไพล
                                                       ใด จึงอาจกล่าวได้ว่าผลการศึกษาเบื้องต้นนี้สนับสนุน
                การศึกษานี้ติดตามอาการไม่พึงประสงค์ในผู้เข้า  การใช้ยาประสะไพลในการใช้รักษาภาวะประจำาเดือน
           ร่วมวิจัยจำานวนทั้งสิ้น 24 คน เป็นระยะเวลาอย่างน้อย   มาไม่ปกติตามความรู้ดั้งเดิมทางแพทย์แผนไทยและ

           3 เดือน ติดตามทั้งหมด 3 ครั้ง คือ 7 วันหลังจากรับ  ตามข้อบ่งใช้ในบัญชียาหลักแห่งชาติด้านสมุนไพรของ
           ประทานยา รอบเดือนที่ 1 และรอบเดือนที่ 2 หลังจาก  ไทย [6]

           รับประทานยาโดยพิจารณาตามเกณฑ์การประเมิน         เมื่อพิจารณาผลของยาตามอาการประจำาเดือน
           Naranjo’s Algorithm ไม่พบการเกิดอาการไม่พึง  มาไม่ปกติของผู้เข้าร่วมวิจัย พบว่าผู้เข้าร่วมวิจัยส่วน
           ประสงค์ในผู้ป่วยทุกราย                      ใหญ่หายจากอาการผิดปกติ หรือดีขึ้นในกลุ่มประจำา

                                                       เดือนเว้นช่วงห่าง ประจำาเดือนมาน้อยและประจำาเดือน
                         อภิปร�ยผล
                                                       มาถี่ โดยเห็นผลแตกต่างอย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติใน

                การศึกษานี้เป็นการติดตามผลการใช้ยาประสะ-  กลุ่มประจำาเดือนเว้นช่วงห่าง ส่วนกลุ่มประจำาเดือนมา
           ไพลต่อการรักษาภาวะประจำาเดือนมาไม่ปกติในร้าน  น้อยและประจำาเดือนมาถี่ แม้ผู้เข้าร่วมวิจัยทุกคนใน
           ยา ผลการติดตามการใช้ยาตามสภาวะจริงของผู้เข้า  กลุ่มจะหายจากอาการตั้งแต่เดือนแรก แต่เนื่องจาก
   77   78   79   80   81   82   83   84   85   86   87