Page 81 - วารสารปีที่17ฉบับที่1
P. 81

J Thai Trad Alt Med                                    Vol. 17  No. 1  Jan-Apr 2019  71




            ขาดมาเป็นเวลาประมาณ 1 ปี ที่ผลการรักษาไม่มีการ  2 รอบเดือน) ส่วนผู้ที่มีประจำาเดือนมาน้อย 5 คน และ
            เปลี่ยนแปลง คือ ยังคงไม่มีประจำาเดือน ดังนั้นทีม  ประจำาเดือนมาถี่ 1 คน พบว่าผู้เข้าร่วมวิจัยทั้งหมด

            วิจัยจึงแนะนำาให้ไปพบแพทย์เพื่อวินิจฉัยหาสาเหตุ  หายจากอาการผิดปกติเหล่านี้ตั้งแต่หลังรับประทาน
            และทำาการรักษาที่เหมาะสมต่อไป               ยาประสะไพลในรอบเดือนที่ 1 (ตารางที่ 2)
                 เมื่อพิจารณาตามอาการย่อย พบว่าการติดตาม      การติดตามผลของยาประสะไพลต่ออาการ

            ณ รอบเดือนที่ 2 มีผู้เข้าร่วมวิจัยหายจากอาการประจำา  ผิดปกติก่อนมีประจำาเดือนในรอบเดือนที่ 2 พบว่า
            เดือนเว้นช่วงห่าง 6 ใน 17 คน (ร้อยละ 35.3) แตกต่าง  สัดส่วนคนที่มีอาการผิดปกติก่อนมีประจำาเดือนลดลง
            จากก่อนใช้ยาประสะไพลอย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติ   จากก่อนใช้ยาประสะไพลอย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติใน

            (p-value = 0.031) โดยระยะห่างของการมีประจำา  ทุกอาการ รวมไปถึงอาการปวดประจำาเดือน (ตารางที่
            เดือนเฉลี่ยในกลุ่มนี้ลดลงจากก่อนใช้ยาอย่างมีนัย  3) โดยคะแนนความรุนแรงของการปวดประจำาเดือน
            สำาคัญทางสถิติ (p-value < 0.001; ลดลงจาก 66.2   พบว่า ค่าคะแนนความปวดหลังใช้ยาประสะไพลลด

            ± 13.9 วัน เป็น 37.6 ± 7.4 วันหลังใช้ยาประสะไพล   ลงอย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติเมื่อเทียบกับก่อนการ


            ตารางที่ 2 ผลลัพธ์หลักด้านประสิทธิผลของการใช้ยาประสะไพล เมื่อติดตาม ณ รอบเดือนที่ 1 และ 2

                                                ผลการติดตาม ณ รอบเดือนที่ 1;    ผลการติดตาม ณ รอบเดือนที่ 2;
             อาการ                              สัดส่วน (ร้อยละ)             สัดส่วน (ร้อยละ)
                                             หาย     ดีขึ้น   ไม่หาย    หาย      ดีขึ้น   ไม่หาย

             อาการประจำาเดือนมาผิดปกติโดยรวม   7/24   0     17/24      12/24    11/24     1/24
             (n = 24 คน)                    (29.2)   (0.0)   (70.8)    (50.0)   (45.8)    (4.2)
                   p-value                  0.016                      < 0.001

             ความผิดปกติเมื่อแยกตามอาการย่อย
               1) ประจำาเดือนเว้นช่วงห่าง (n = 17)   1/17   0   16/17   6/17    11/17      0
                                            (5.9)   (0.0)   (94.1)     (35.5)   (64.7)    (0.0)
                   p-value                  1.000                      0.031
               2) ประจำาเดือนมาน้อย (n = 5)   5/5     0       0         5/5       0        0
                                           (100.0)   (0.0)   (0.0)    (100.0)    (0.0)    (0.0)
                   p-value                  0.062                      0.062
               3) ประจำาเดือนขาด (n = 1)     0        0      1/1         0      0 (0.0)    1/1
                                            (0.0)   (0.0)   (100)      (0.0)              (100)
                   p-value                   N/A                        N/A
               4) ประจำาเดือนมาถี่ (n = 1)   1/1      0       0         1/1       0        0
                                           (100.0)   (0.0)   (0.0)    (100.0)    (0.0)    (0.0)
                   p-value                   N/A                        N/A
            หมายเหตุ : n = จำานวนกลุ่มตัวอย่างที่ติดตามได้, N/A = Not available โดยวิเคราะห์ข้อมูลด้วย McNemar test
   76   77   78   79   80   81   82   83   84   85   86