Page 141 - วารสารปีที่17ฉบับที่1
P. 141

วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก  Journal of Thai Traditional & Alternative Medicine
                        ปีที่ 17  ฉบับที่ 1  มกราคม-เมษายน 2562       Vol. 17  No. 1  January-April 2019




                                                                                  วารสารสโมสร




              วารสารสโมสร


              ธงชัย สุขเศวต*
              รัชนี จันทร์เกษ †
              ผกากรอง ขวัญข้าว ‡




                       คอลัมน์วารสารสโมสรการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก มีจุดมุ่งหมายเพื่อน�าเสนอเอกสาร
                   สิ่งพิมพ์ที่เกี่ยวข้อง เพื่อรวบรวมไปจัดพิมพ์เป็นเล่มสารสนเทศของข่ายงาน ซึ่งหวังว่าจะเป็นประโยชน์ในการ
                   ค้นเอกสารอ้างอิง และการวิจัยไม่ซ�้าซ้อน.






                                                              ต้นฝิ่นต้น (Jatropha multifida Linn.) เป็นพืช
               สารสกัดจากลำาต้นของฝิ่นต้น (Jatropha mul-
               tifida) จากประเทศเมียนมามีฤทธิ์ต้านไวรัสอิน  ในวงศ์ Euphorbiaceae เป็นพืชสมุนไพร ที่มีการน�า
               ฟูเอ็นซา (Anti-influenza virus)*           มาใช้ในการรักษาอาการและโรคต่าง ๆ มาเป็นเวลา

              Masaki Shoji , So-Yeun Woo , Aki Masuda ,   นาน ในแถบอินเดีย เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และ
                          *
                                                     *
                                        †
              Nwet Nwet Win , Hla Ngwe , Etsuhisa Taka-   ประเทศจีน โดยในประเทศเมียนมา จะใช้ในการรักษา
                                       †
                            † , ‡
              hashi , Hiroshi Kido , Hiroyuki Morita , Takuya   ไข้ อาหารไม่ย่อย จุกเสียด แผล ผื่นคัน การติดเชื้อที่
                   §
                               §
                                              †
              Ito  and Takashi Kuzuhara *
                †
              * Laboratory of Biochemistry, Faculty of Phar-  ผิวหนัง และใช้เป็นยาถ่าย จากการศึกษาทาง
              maceutical Sciences, Tokushima Bunri Uni-   เภสัชวิทยาพบว่า รากและล�าต้นมีฤทธิ์ ต้านแบคทีเรีย
              versity, Japan.                             ต้านมาลาเรีย ต้านมะเร็ง เป็นต้น โดยพบสารส�าคัญ
              † Institute of Natural Medicine, University of
              Toyama, Japan.                              หลายกลุ่มในฝิ่นต้น ได้แก่ cyclic peptide, diter-
              ‡ Department of Chemistry, University of Yan-  penoids และ phenolic compounds ยังไม่มีผลการ
              gon, Myanmar.
              § Division of Pathology and Metabolome      ศึกษาฤทธิ์ต้านเชื้อไวรัสของฝิ่นต้นมาก่อน กลุ่มผู้วิจัย
              Research for Infectious Disease and Host    จึงท�าการศึกษาฤทธิ์ของสารสกัดด้วยน�้า สารสกัดด้วย
              Defense, Institute for Enzyme Research, Uni-
              versity of Tokushima, Japan.                เอทานอล (ethanol) สารสกัดด้วยเฮกเซน (n-hex-
              BMC Complementary and Alternative Medi-     ane) และ สารสกัดด้วยคลอโรฟอร์ม (chloroform)
              cine. 2017;17:96.                           จากล�าต้นของฝิ่นต้นในการต้านเชื้อไวรัสอินฟูเอ็นซา

              * คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย      เอ (Influenza A, H1N1) ที่เจริญเติบโตในเซลล์
              †  กลุ่มงานวิชาการและคลังความรู้ กองวิชาการและแผนงาน  Madin-Darby canine kidney (MDCK) จากการ
              กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
              ‡  โรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศร             ศึกษาพบว่า สารสกัดด้วยน�้า เอทานอล และ

                                                      131
   136   137   138   139   140   141   142   143   144   145   146