Page 143 - วารสารปีที่17ฉบับที่1
P. 143

Journal of Thai Traditional & Alternative Medicine   Vol. 17  No. 1  January-April 2019  133





               ฤทธิ์ต้านเชื้อจุลชีพและฆ่าตัวอ่อนของแมลงวัน  * Rampadarath S, Puchooa D, Ranghoo-San-
               ผลไม้ทองของสารสกัดจากใบของฝิ่นต้น (Jat-    mukhiya VM. Antimicrobial, phytochemical
                                                          and larvicidal properties of Jatropha multifida
               ropha multifida)*                          Linn. Asian Pacific Journal of Tropical Medicine.
                                                          2014;7S1:S380-3.
              Sillma Rampadarath, Daneshwar Puchooa*,
              Vijayanti Mala Ranghoo-Sanmukhiya
              Department of Agriculture and Food Science,
              Faculty of Agriculture, University of Mauritius,   Hemostatic Effect of Jatropha multifida L.
              Réduit, Mauritius                            (Euphorbiaceae) in Rats Having Coagula-

              Asian Pacific Journal of Tropical Medicine.   tion Disorders*
              2014;7S1:S380-3.                            Jean Robert Klotoe, Jean Marc Ategbo, Victorien
                                                          Tamègnon Dougnon, Frédéric Loko, Karim
                                                          Dramane
                   ต้นฝิ่นต้น (Jatropha multifida Linn.) เป็น  Journal of Applied Biology & Biotechnology.

              พืชในวงศ์ Euphorbiaceae เป็นพืชสมุนไพร ที่ปลูก  2017;(5):26-9
              ทั่วไปทั้งในหลายประเทศแถบแอฟริกาและเอเชีย รวม
              ทั้งในประเทศมอริเชียส (Mauritius) ซึ่งพบมีฤทธิ์     ในประเทศเบนินมีการใช้ยางของฝิ่นต้นเพื่อห้าม

              ต้านเชื้อจุลชีพ กลุ่มผู้วิจัยจึงสนใจที่จะท�าการศึกษา  เลือด โดยมีการศึกษาก่อนหน้าถึงประสิทธิผลของฝิ่น
              ผลของสารสกัดเมทานอล (Methanol) และ เอทิล    ต้นในการแข็งตัวของเลือดและห้ามเลือดได้ในหนู

              อะซีเตท (Ethyl acetate) จากใบของฝิ่นต้น ในการ  ปกติ ในการศึกษานี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาฤทธิ์
              ต้านเชื้อจุลชีพและฆ่าตัวอ่อนของแมลงวันผลไม้ทอง 2   ของยางของฝิ่นต้นในหนูที่มีความผิดปกติของการ
              ชนิด คือ Bactrocera zonata และ Bactrocera cu-  แข็งตัวของเลือด โดยศึกษาในหนูแรท Wistar albino

              curbitae ซึ่งท�าลายผลไม้และพืชสกุลถั่วในประเทศ  14 ตัว ซึ่งครึ่งหนึ่ง เป็นหนูปกติ อีกครึ่งหนึ่งเป็นหนูที่
              มอริเชียสอย่างมาก จากผลการศึกษาพบว่าสารสกัด  ได้รับยาวาร์ฟารินทางปาก ขนาด 2 mg/kg เป็นเวลา

              ทั้ง 2 ชนิดจากใบฝิ่นต้นมีฤทธิ์ต้านเชื้อแบคทีเรียได้  4 วัน จากนั้นให้ยาสลบและยาชา แล้วท�าการผ่าตัด 3
              หลายชนิดรวมทั้ง แบคทีเรีย แกรมบวก บางชนิด โดย  ชนิด ได้แก่ การผ่าตัดชั้นตื้น (superficial cuts) การ
              เฉพาะเชื้อ Bacillus algicola และ Staphylococcus   ผ่าตัดหลอดเลือดด�าซาฟีนัส (saphenous vein) and

              epidermis และยังสามารถต้านเชื้อราชนิด Candida   การผ่าตัดหลอดเลือดด�าที่ต้นขา (femoral vein) ที่ขา
              albicans ได้ นอกจากนี้ยังพบว่าสารสกัดจากใบฝิ่น  หลังของหนูทั้งสองข้าง แล้วทายางของฝิ่นต้นที่ขาข้าง
              ต้นยังสามารถฆ่าตัวอ่อนของแมลงวันดอกไม้ทอง   หนึ่งที่ถูกผ่าตัด ส่วนอีกข้างหนึ่งทา 0.9% NaCl พบ

              ได้ การศึกษานี้เป็นพื้นฐานที่จะพัฒนาต่อเนื่องเพื่อ  ว่า ยางฝิ่นต้นลดระยะเวลาตั้งแต่เลือดไหลจนหยุด
              หาสารส�าคัญที่ออกฤทธิ์ รวมทั้งการพัฒนาเพื่อน�ามา  (Bleeding Times; TS) อย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติ
              ใช้ต้านเชื้อจุลชีพและตัวอ่อนของแมลงวันผลไม้ทอง  ในหนูปกติ โดยการลด TS ไม่สัมพันธ์กับชนิดของ

              ต่อไป                                       การผ่าตัด โดยมีค่าการลดลงเป็น 39.06%, 46.68%
   138   139   140   141   142   143   144   145   146   147   148