Page 142 - วารสารปีที่17ฉบับที่1
P. 142

132 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก       ปีที่ 17  ฉบับที่ 1  มกราคม-เมษายน 2562




             คลอโรฟอร์ม มีฤทธิ์ยับยั้งการติดเชื้อไวรัสอินฟูเอ็นซา      ต้นฝิ่นต้น (Jatropha multifida) วงศ์ Euphor-
             เอ ของเซลล์ MDCK โดยสารสกัดด้วยน�้ามีฤทธิ์แรง  biaceae เป็นพืชที่ขึ้นอย่างกว้างขวางทั้งในทวีปเอเชีย
             ที่สุด ส�าหรับการเจริญเติบโตของเชื้อไวรัสอินฟูเอ็นซา   และแอฟริกา มีการน�ามาใช้เป็นพืชสมุนไพรรักษา

             เอ นั้น สามารถถูกยับยั้งได้ด้วยสารสกัดด้วยเอทานอล   อาการและโรคต่าง ๆ และจากการศึกษาพบว่ามีฤทธิ์
             เฮกเซน และคลอโรฟอร์ม ผลการศึกษานี้แสดงให้เห็น  สามารถใช้ได้หลายวัตถุประสงค์ ได้แก่ รักษาผื่นแดง

             ว่าล�าต้นอาจใช้เป็นสมุนไพรในการรักษาการติดเชื้อ  อาการคัน แผลที่ผิวหนัง แผลในปาก หนองในโกโน
             ไวรัสอินฟูเอ็นซา เอ และข้อมูลนี้ก็เป็นข้อมูลพื้นฐานที่  เรีย และต้านเชื้อจุลชีพ เป็นต้น โดยในประเทศโตโก
             จะน�ามาพัฒนาหาสารหลักในล�าต้นของฝิ่นต้นเพื่อใช้  (Togo) ได้มีการน�ามาใช้ทางการแพทย์พื้นบ้านในการ

             เป็นยาต้านไวรัสอินฟูเอ็นซาต่อไป             รักษาแผลเรื้อรัง กลุ่มผู้วิจัยจึงสนใจที่จะศึกษาฤทธิ์
                                                         ของสารสกัดเอทานอลจากใบฝิ่นต้นในการต้านเชื้อ
             * Shoji M, Woo SY, Masuda A, Win NN, Ngwe H,   แบคทีเรีย (Antibacterial) 2 ชนิดที่แยกจากแผล คือ
             Takahashi E, Kido H, Morita H, Ito T, Kuzuhara
             T. Anti-influenza virus activity of extracts from   Staphylococcus aureus และ Pseudomoas ae-
             the stems of Jatropha multifida Linn. collected in   ruginosa และยังท�าการศึกษาฤทธิ์ต้านการอักเสบ
             Myanmar. BMC Complementary and Alternative   (Anti-inflammatory) และฤทธิ์ต้านออกซิเดชัน
             Medicine. 2017;17:96.
                                                         (Antioxidant) จากผลการศึกษาก็พบว่า สารสกัดเอ
                                                         ทานอลจากใบฝิ่นต้นสามารถยับยั้งการเจริญเติบโต

              ฤทธิ์ต้านเชื้อจุลชีพ และต้านการอักเสบของสาร  ของเชื้อโรคทั้ง 2 ชนิดได้ในหลอดทดลอง นอกจากนี้
              สกัดเอทานอลจากใบฝิ่นต้น (Jatropha mul-     ยังพบว่าสารสกัดเอทานอลนี้ยังมีฤทธิ์ต้านการอักเสบ

              tifida)*                                   ในโมเดลการอักเสบในสัตว์ทดลอง แต่มีฤทธิ์ในการ
             Kokou Anani , Yao Adjrah , Yaovi Améy-      ต้านออกซิเดชันค่อนข้างต�่า การทดลองนี้ก็เป็นการ
                        * , † , ‡
                                      * , † , ‡
             apoh , Simplice Damintoti Karou , Ameg-     ยืนยันการใช้สารสกัดจากใบฝิ่นต้นในการรักษาแผล
                                           * , † , ‡
                 * , †
             nona Agbonon , Comlan de Souza , Mes-       เรื้อรังในประเทศโตโกได้ และอาจเป็นข้อมูลพื้นฐาน
                          † , §
                                             * , †
             sanvi Gbeassor † , §
              Laboratoire de Microbiologie et de Contrôle   ในการพัฒนาต่อเนื่องเพื่อหาสารส�าคัญในสารสกัดที่
             *
             de Qualité des Denrées Alimentaires (LAMI-  ออกฤทธิ์ เพื่อน�ามาใช้เป็นยาต้านแบคทีเรียในอนาคต
             CODA), Togo                                 ต่อไป
              Centre de Recherche et de Formation sur les
             †
             Plantes Médicinales (CERFOPLAM), Togo
              Centre de Recherche en Agriculture Bi-     * Anani K, Adjrah Y, Améyapoh Y, Karou SD, Ag-
             ‡
             ologique et Substances Naturelles (CRABIS-  bonon A, de Souza C, Gbeassor M. Antimicrobial,
             NA), Togo                                   Anti-inflammatory and Antioxidant Activities of
              Laboratoire de Physiologie et de Pharma-   Jatropha multifida L. (Euphorbiaceae). Pharma-
             §
             cologie, Faculté des Sciences, Université de   cognosy Research. 2016;8(2):142-6.
             Lomé, Togo

             Pharmacognosy Research. 2016;8(2):142-6.
   137   138   139   140   141   142   143   144   145   146   147