Page 106 - วารสารปีที่17ฉบับที่1
P. 106
96 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 17 ฉบับที่ 1 มกราคม-เมษายน 2562
Effect of Justicia gendarussa Burm.f (Kraduk Kai Dum) Oil and Zingiber
cassumunar Roxb. (Plai) Oil Massage on Neck and Shoulder Pain from Office
Syndrome
Aumpol Bunpean , Tidarat Jampreecha, Nipaporn Sansurin
*
Kanchanabhisek Institute of Medical and Public Health Technology, Nontaburi 11150
* Corresponding author: aumpoltor@hotmail.com
Abstract
This quasi-experimental research aimed to study the effect of kraduk kai dum oil and plai oil massage on neck
and shoulder pain resulting from office syndrome. The subjects of this study are 60 students of Kanchanabhishek
Institute of Medical and Public Health Technology. The research instrument used for data collection was a numeric
rating score, inclinometer, algometer and experimental data recording. Frequency, percentage, mean, standard
deviation, dependent t-test and independent t-test were employed for statistical analysis. The results showed that
kraduk kai dum oil massage significantly relieved symptoms of office syndrome as assessed by using a pain score,
pressure pain threshold and neck movement at p-value < 0.05. Likewise, plai oil massages had positive effects
when investigated with the same parameters. Moreover, the results revealed that massages with kraduk kai dum
oil were more effective in-reducing pain levels, improving levels of pain pressure thresholds, and increasing levels
of neck motion than massages with plai oil with statistical significance at p-value < 0.05. The results of this study
indicate that both kraduk kai dum oil and plai oil are capable of relieving symptoms of office syndrome. Thus, the
use of kraduk kai dum oil can be considered as an alternative to plai oil.
Key words: kraduk kai dum oil, plai oil, massage, office syndrome
บทนำ� คน พบว่าร้อยละ 62.35 มีปัญหาอาการปวดกล้าม
ปัจจุบันกลุ่มอาการออฟฟิศซินโดรม (office เนื้อคอ บ่า ไหล่ เช่นเดียวกัน [2]
syndrome) ไม่เพียงแต่เป็นปัญหาของกลุ่มคนวัย โดยการรักษาอาการปวดกล้ามเนื้อด้วยวิธี
ท�างานเท่านั้น แต่กลุ่มนักเรียน นักศึกษา ก็มีปัญหา ทางการแพทย์แผนปัจจุบันมีผลข้างเคียง เช่น การ
จากอาการออฟฟิศซินโดรมเช่นกัน โดยจากการ เกิดแผลในระบบทางเดินอาหารจากการใช้ยาต้านการ
สัมภาษณ์นักศึกษาในมหาวิทยาลัยแห่งหนึ่งใน อักเสบ ความเป็นพิษต่อตับของยาคลายกล้ามเนื้อ
ประเทศไทยจ�านวน 316 คน พบว่า ร้อยละ 58.5 มี และการใช้ยามากเกินความจ�าเป็น การรักษาด้วยการ
อาการปวดกล้ามเนื้อบางส่วนของร่างกาย โดยบริเวณ แพทย์ทางเลือกจึงได้รับความนิยมเพิ่มขึ้นและมี
ที่พบมากที่สุดสามอันดับแรกได้แก่ คอ ร้อยละ 52.2 บทบาทมากขึ้นในการดูแลผู้ป่วยเพื่อลดการน�าสาร
หลังส่วนล่าง ร้อยละ 39.9 และไหล่ ร้อยละ 32.6 เคมีเข้าสู่ร่างกาย และเป็นการเติมเต็มความสมบูรณ์
[1]
จากการส�ารวจนักศึกษาวิทยาลัยเทคโนโลยีทางการ ในการดูแลแบบองค์รวม การรักษาด้วยการแพทย์
[3]
แพทย์และสาธารณสุข กาญจนาภิเษก จ�านวน 409 ทางเลือกที่นิยมกันอย่างแพร่หลาย ได้แก่ การนวด