Page 107 - วารสารปีที่17ฉบับที่1
P. 107

J Thai Trad Alt Med                                    Vol. 17  No. 1  Jan-Apr 2019  97




                                            [4]
            การนวดน�้ามัน และการประคบสมุนไพร  โดยการ    สารส�าคัญ vitexin และ apigenin ในกลุ่ม flavo-
            นวดนั้นเป็นที่ยอมรับกันว่ามีประสิทธิผลดีมาก  noids สารสองชนิดนี้ออกฤทธิ์ผ่านกลไกเดียวกันกับ

            สามารถช่วยบรรเทาอาการปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ เส้น  ยาต้านอักเสบชนิดไม่ใช่สเตียรอยด์ (NSAIDs)
                          [5]
            เอ็นได้เป็นอย่างดี  นอกจากนี้ยังมีการน�าสมุนไพร  นอกจากนี้ กระดูกไก่ด�ายังเป็นพืชโตไว เก็บเกี่ยว
            เข้ามาใช้ประกอบการนวดเพื่อให้การนวดมีผล     ผลผลิตได้เร็ว  แต่จากการทบทวนวรรณกรรมยัง
                                                                   [10]
            สัมฤทธิ์มากยิ่งขึ้น โดยในการรักษาหรือบ�าบัดจะใช้  ไม่พบการศึกษาทางคลินิกถึงผลในการบรรเทาอาการ
            ยาสมุนไพรถูนวดให้ตัวยาซึมเข้าไปในบริเวณกล้าม  ปวดกล้ามเนื้อของน�้ามันกระดูกไก่ด�าเปรียบเทียบกับ
            เนื้อเพื่อให้ตัวยาในสมุนไพรได้ออกฤทธิ์บรรเทาหรือ  ผลของการใช้น�้ามันไพล ซึ่งเป็นน�้ามันพื้นฐานที่นิยม

                            [6]
            รักษาอาการที่เกิดขึ้น  สมุนไพรที่นิยมใช้ร่วมกับการ  ใช้บรรเทาอาการปวดกล้ามเนื้อในปัจจุบัน การวิจัย
            นวดเพื่อบรรเทาอาการปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ และเส้น  ครั้งนี้จึงให้ความส�าคัญในการท�าวิจัยเรื่อง “ผลของ
            เอ็นเช่น ไพล ขมิ้น ขิง ตะไคร้ หญ้าขัดมอญ ลูก  การนวดด้วยน�้ามันกระดูกไก่ด�า และน�้ามันไพลต่อ

            กระวาน กานพลู เถาเอ็นอ่อน เถาวัลย์เปรียง ว่านนาง  อาการปวดกล้ามเนื้อคอ บ่า ไหล่จากออฟฟิศซินโดรม
            ค�า ว่านเอ็นเหลือง กระทิง กระดูกไก่ด�า ล�าโพงกาสลัก   ในนักศึกษาวิทยาลัยเทคโนโลยีทางการแพทย์และ

                  [7]
            เป็นต้น                                     สาธารณสุข กาญจนาภิเษก จังหวัดนนทบุรี” เพื่อ
                 จากการรายงานของส�านักงานหลักประกัน     เปรียบเทียบผลของการนวดด้วยน�้ามันกระดูกไก่ด�า
            สุขภาพแห่งชาติ พบว่า ในปี พ.ศ. 2557 สมุนไพรที่  และน�้ามันไพลต่ออาการปวดกล้ามเนื้อคอ บ่า ไหล่จาก

            ใช้ในการรักษากลุ่มอาการทางกล้ามเนื้อที่นิยมที่สุด  ออฟฟิศซินโดรม โดยผลของการศึกษาวิจัยที่ได้จะ
            คือ ไพล โดยมียอดการสั่งจ่ายจ�านวน 361,167 ครั้ง    สามารถเป็นแนวทางในการเลือกใช้สมุนไพรเพื่อบรรเทา
                                                   [8]
            แต่ไพลนั้นมีข้อจ�ากัดในเรื่องของการผลิต คือไพลมี  อาการปวดกล้ามเนื้อต่อไป
            ระยะเวลาเก็บเกี่ยวนานถึง 2 ปี และจะต้องเก็บในช่วง
            ฤดูแล้งเท่านั้น ส่วนสมุนไพรชนิดอื่นที่นิยมใช้ในการ      ระเบียบวิธีศึกษ�

            รักษากลุ่มอาการชนิดเดียวกันนี้ เช่น ขิง ขมิ้น ตะไคร้
            กระดูกไก่ด�า ใช้เวลาในการปลูกจนถึงเก็บเกี่ยวไม่ถึง   กรอบแนวคิดก�รวิจัย
            1 ปี [9]                                         การวิจัยนี้ ได้ประยุกต์ใช้แนวคิดเกี่ยวกับการ

                  จากความเป็นมาและความส�าคัญของปัญหา    ประเมินความปวดของการศึกษาเปรียบเทียบ
            ดังกล่าว จึงมีความจ�าเป็นในการศึกษาสมุนไพรที่  ประสิทธิผลการนวดไทยกับการใช้ยาไดโคลฟีแนค
            สามารถน�ามาทดแทนน�้ามันไพลได้ ซึ่งจากการ    (Diclofenac) ในการลดอาการปวดบ่า  มาเป็นพื้น
                                                                                     [11]
            ทบทวนวรรณกรรมพบว่า กระดูกไก่ด�า หรือสันพร้า  ฐานในการอธิบายประสิทธิผลของการนวดด้วยน�้าคั้น
            มอญ มีชื่อวิทยาศาสตร์คือ Justicia gendarussa   จากไพลและการนวดด้วยน�้ามันไพลต่ออาการปวด

            Burm.f. จัดอยู่ในวงศ์ Acanthaceae มีสรรพคุณ   กล้ามเนื้อคอ บ่า ไหล่ ประกอบด้วย ระดับความปวด
            แก้อาการปวด โดยกระดูกไก่ด�ามีฤทธิ์แรงมากในการ  ระดับความรู้สึกกดเจ็บ และองศาการเคลื่อนไหวของ
            ต้านอักเสบ และลดอาการปวด ซึ่งเป็นฤทธิ์ที่ได้จาก  คอ ดังภาพที่ 1
   102   103   104   105   106   107   108   109   110   111   112