Page 95 - journal-14-proceeding
P. 95

บทคัดยอประกวดผลงานวิชาการประจําปการแพทยแผนไทย การแพทยพื้นบาน และการแพทยทางเลือกแหงชาติ ครั้งที่ 14


                                      PPem28R การพัฒนาไมนวดกลามเนื้อคอ บา ไหล



               ปยรัตน  สุยะและคณะ
               โรงพยาบาลบอเกลือ

               หลักการและเหตุผล พื้นที่ในอําเภอบอเกลือสวนใหญเปนเทือกเขาสูงสลับซับซอน ประชาชนในพื้นที่รอยละ
               90 ประกอบอาชีพเกษตรกรรม อาทิ ปลูกขาวไร  ขาวโพด เลี้ยงสัตวและหาของปา สงผลใหมีอาการปวด
               กลามเนื้อ คอ บา ไหล จากสถิติของผูที่มารับบริการที่คลินิกแพทยแผนไทยและกายภาพบําบัดโรงพยาบาล

               บอเกลือ เพิ่มขึ้นในแตละป โดยใน พ.ศ.2557,2558 และ 2559 มีจํานวนครั้งของผูปวยที่มารับบริการ 262,
               321 และ 390 ครั้ง ตามลําดับ คลินิกแพทยแผนไทยเคยมีไมที่ใชสําหรับนวดกลามเนื้อบริเวณ คอ บา ไหล
               ซึ่งสามารถชวยบรรเทาอาการปวดกลามเนื้อได แตเนื่องดวยไมที่นํามาเปนไมนวดเปนไมไผ ซึ่งมีความแข็งทําให
               ผูที่ใชไมนวดนี้เกิดอาการปวดกลามเนื้อบริเวณที่นวดจึงทําใหความนิยมในการใชไมนวดนี้ลดนอยลงไป ดังนั้น

               จึงไดนําไมนวดคอ บา ไหลนี้มาพัฒนาใหดีขึ้น โดยการศึกษา คนควา คุณสมบัติของไมที่มีความแข็งแรง
               ยืดหยุนไดดี แลวหางายในทองถิ่นอําเภอบอเกลือ คือ ไมหวาย จึงนํามาใชแทนไมไผ

               วัตถุประสงค 1)  เพื่อพัฒนาไมนวดกลามเนื้อ คอ บา ไหลในการใชบรรเทาอาการปวด 2)  เพื่อทดสอบ

               ประสิทธิผลของไมนวดกลามเนื้อ คอ บา ไหล ในการใชบรรเทาอาการปวด

               วิธีการดําเนินการ 1) สํารวจและรวบรวมขอมูลของผูปวยที่มีอาการปวดกลามเนื้อคอ บา ไหล ที่มารับบริการ
               ณ คลินิกแพทยแผนไทยและกายภาพบําบัด 2)  ประชุมเจาหนาที่เพื่อวางแผนแนวทางการดําเนินงานใน

               ประดิษฐไมนวดและกิจกรรมในการใชไมนวดเพื่อบรรเทาอาการปวด 3)  หาไมหวายที่มีเสนผานศูนยกลางไม
               นอยกวา 2 เซนติเมตรตัดไมหวาย ใหไดความยาว 60 เซนติเมตรแลวใชสวานเจาะรูที่สวนปลายของไมหวาย
               และนําเชือกมารอยไมทั้ง 2 ขางเขาดวยกันทาแล็คเกอรตากใหแหง 4) ดําเนินการใหสุขศึกษาสําหรับการใชไม
               นวดใหกับผูปวยที่มีอาการปวดกลามเนื้อคอ บา ไหล เพื่อใหนํากลับไปใชที่บานไดอยางถูกวิธี 5)  ประเมิน

               ประสิทธิผลจากผูปวยที่เขารวมกิจกรรม

               ผลการศึกษา จากการดําเนินงานพบวา มีผูปวยที่ปวดกลามเนื้อคอ บา ไหล โดยใชไมนวด จํานวน 30 คน โดย
               แบงเปน 3 กลุมอาการคือ ปวดคอ 10 คน, ปวดบา 10 คน และปวดไหล 10 คน ทําการทดลองในระยะเวลา

               1 เดือน พบวา คาเฉลี่ยของระดับความเจ็บปวดของกลุมอาการปวดคอกอนทําการใชไมนวดอยูในระดับ 6.7
               หลังทําการใชไมนวด อยูในระดับ 3.8 คาเฉลี่ยของระดับความเจ็บปวดของกลุมอาการปวดบากอนทําการใชไม
               นวดอยูในระดับ 6.9 หลังทําการใชไมนวด อยูในระดับ 3.8 และคาเฉลี่ยของระดับความเจ็บปวดของกลุม
               อาการปวดไหลกอนทําการใชไมนวดอยูในระดับ 6.7 หลังทําการใชไมนวด อยูในระดับ 4.2 จะเห็นไดวาไมนวด

               กลามเนื้อสามารถลดอาการปวดคอ บา ไหล ไดจริงและไมมีผูปวยรายใดมีอาการปวดเพิ่มมากขึ้นหลังใชไมนวด
               ระดับความพึงพอใจของผูรับบริการโดยรวมรอยละ 80








                                                         93
   90   91   92   93   94   95   96   97   98   99   100