Page 99 - journal-14-proceeding
P. 99

บทคัดยอประกวดผลงานวิชาการประจําปการแพทยแผนไทย การแพทยพื้นบาน และการแพทยทางเลือกแหงชาติ ครั้งที่ 14


                                      PPem46R การศึกษาผลของการดื่มน้ําสายใยรักตอการไหลของน้ํานมในมารดา
                                      หลังคลอด (น้ําสมุนไพรเรงน้ํานมแม)


                                                                        4
                                                            3
                                            2
                                1
               อัสฮา  อดุลยรอหมาน , นิตยา  กิจชอบ , กามีละห   ดือเลาะ , อดุลย  เร็งมา
                                                    3
               1 งานแพทยแผนไทยและกายภาพบําบัด   งานโภชนาการ  งานสูติกรรม   องคกรแพทย  โรงพยาบาลยี่งอเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา
                                         2
                                                             4
               หลักการและเหตุผล การเลี้ยงลูกดวยนมแมมีผลดีตอสุขภาพของมารดาและทารก การสงเสริมการเลี้ยงลูกดวยนมแม
               ใหประสบความสําเร็จจึงมีความสําคัญมาก ซึ่งเห็นไดวาการเลี้ยงลูกดวยนมแม เปนกลยุทธที่สําคัญในการสงเสริม
               สุขภาพ (Health promotion) เพราะนมแมเปนอาหารที่ดีที่สุดสําหรับทารก มีสารอาหารที่ครบถวน ทารกที่ไดรับนม
               แมจะไดรับภูมิคุมกันและอาหารที่เหมาะสมกับการเจริญเติบโต มีโอกาสเจ็บปวยนอยกวาทารกที่ไมไดรับการเลี้ยงดู
               ดวยนมแม ที่สงผลตอการเจริญเติบโตและพัฒนาการที่ดี ทั้งทางดานรางกายจิตใจ และ อารมณของทารก ปญหาหญิง
               หลังคลอดที่มีปญหาน้ํานมไหลนอยและชา ถือเปนปญหาสําคัญของมารดาและทารกในประเทศไทย ซึ่งทําใหลูกนอย
               พลาดโอกาสที่มีคาที่สุดที่ควรจะไดรับจากแมที่อุดมไปดวยสารสําคัญ และสารอาหารตางๆเหมาะสมที่สุดสําหรับ
               ทารกวัยนี้  จากปญหาดังกลาวจึงทําใหหนวยงานแพทยแผนไทยและกายภาพบําบัด งานโภชนาการ และงานสูติกรรม
               โรงพยาบาลยี่งอเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา ไดคิดคนสูตรสําหรับเรงน้ํานมแม โดยใชสมุนไพรไทย ที่มีคุณคาทาง
               โภชนาการ และรวบรวมจากภูมิปญญาชาวบาน นํามาทดลองจนไดสูตรที่ลงตัว เปนอาหารประเภทเครื่องดื่ม ตั้งชื่อวา

               น้ําสายใยรัก

               วัตถุประสงค เพื่อศึกษาประสิทธิผลของน้ําสายใยรักตอการไหลของน้ํานมในมารดาหลังคลอด
               (น้ําสมุนไพรเรงน้ํานมแม)


               วิธีการดําเนินการ การวิจัยครั้งนี้เปนการวิจัยแบบทดลอง โดยใชวิธีการลดลองในมารดาหลังคลอดที่มารับบริการงาน
               สูติกรรม โรงพยาบาลยี่งอเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา ที่มีปญหาน้ํานมไหลนอยและชา ผานการคัดกรองจากพยาบาล
               งานสูติกรรม ที่ไมมีภาวะแทรกซอนใหบริการน้ําสายใยรักภายใน 1 ชั่วโมงหลังคลอด โดยคณะผูวิจัยเปนทีมงานใน
               หนวยงานแพทยแผนไทยและกายภาพบําบัด งานโภชนาการ และงานสูติกรรม และการใชภูมิปญหาทองถิ่นจากผูมี
               ความรูในพื้นที่ รวมกันคิดคนสูตรสําหรับเรงน้ํานมแม และใชในงานสูติกรรมสําหรับมารดาหลังคลอดที่มารับบริการ

               ในชวงเดือนกุมภาพันธ - พฤษภาคม 2560 ทั้งหมด 30 ราย โดยเก็บรวบรวมขอมูลการใหบริการ การประเมินผลการ
               ใหบริการ  และสรุปผลการดําเนินงานเพื่อพัฒนาตอไป โดยการใชแบบสอบถามและแบบบันทึกการไหลของน้ํานม
               หลังจากดื่มน้ําสายใยรัก

               ผลการศึกษา พบวาหญิงหลังคลอดที่ไดรับบริการน้ําสายใยรักจะมีน้ํานมไหลหลังจากดื่มน้ําสายใยรัก ไมเกิน10

               ชั่วโมง 80% โดยเฉลี่ยเปนใชเวลา 3-5 ชั่วโมงคิดเปน 14 ราย (46.66%)  ใชเวลา 5-7 ชั่วโมงคิดเปน 10 ราย
               (33.33%)  และใชเวลา 7-10 ชั่วโมงคิดเปน 6 ราย (20 %)  โดยหญิงหลังคลอดที่ไดรับบริการน้ําสายใยรักทั้งหมด มี
               ความพึงพอใจ มีความพึงพอใจปริมาณการไหลของน้ํานม 89% มีความพึงพอใจเวลาการไหลของน้ํานม 85% มีความ
               พึงพอใจในรสชาติของน้ําสายใยรัก 70%  มีความพึงพอใจสีสันของน้ําสายใยรัก 89 % มีความพึงพอใจกลิ่นของน้ํา
               สายใยรัก 89%


               ขอสรุป น้ําสายใยรักตอการไหลของน้ํานมในมารดาหลังคลอด (น้ําสมุนไพรเรงน้ํานมแม)  มารดาหลังคลอดที่ไดรับ
               บริการน้ําสายใยรัก จะมีน้ํานมไหลหลังจากดื่มน้ําสายใยรัก ไมเกิน 10  ชั่วโมง  จึงสามารถนําไปใชเปนเปนน้ําดื่มใน
               การการกระตุนน้ํานมของมารดาหลังคลอด เพื่อใหทารกไดรับภูมิคุมกันและสารอาหารที่เหมาะสมกับการเจริญเติบโต

               และสามารถนําไปเผยแพรเพื่อเปนความรูในการดูแลสุขภาพของตนเองของมารดาหลังคลอดและทารกตอไป


                                                         97
   94   95   96   97   98   99   100   101   102   103   104