Page 98 - journal-14-proceeding
P. 98

บทคัดยอประกวดผลงานวิชาการประจําปการแพทยแผนไทย การแพทยพื้นบาน และการแพทยทางเลือกแหงชาติ ครั้งที่ 14


                                      PPem39R ผลการดูแลผูสูงอายุที่มีภาวะขอเขาเสื่อมดวยศาสตรการแพทยแผนไทย
                                      แบบบูรณาการ อําเภอบานแทน  จังหวัดชัยภูมิ



               พงษธนวัฒน  แตงภูมิ และคณะ
               โรงพยาบาลบานแทน จังหวัดชัยภูมิ

               หลักการและเหตุผล  ประเทศไทยกําลังอยูในชวงการเปลี่ยนผานเขาสูสังคมผูสูงอายุโดยสมบูรณ ภาวะขอเขา
               เสื่อมเปนภาวะที่พบไดบอยในผูสูงอายุ พบไดถึงรอยละ 50  สาเหตุนอกจากจากแปรผันตามอายุที่สูงขึ้นแลวยัง
               มีปจจัยอื่น เชน น้ําหนักตัวที่มาก ใชเขามาก ทําใหมีมีอาการเจ็บหรือปวด ขอเขาผิดรูป  ขอฝด หรือขอติด

               สงผลใหเกิดความทุกขทรมานทั้งดานรางกายและจิตใจ  ปจจุบันกระแสสังคมทั่วโลกมีความสนใจและฟนฟู
               กลับมาใชประโยชนจากการแพทยแผนไทยซึ่งเปนการแพทยดั้งเดิม เพื่อเปนทางเลือกในการดูแล สงเสริม
               ปองกัน รักษา และฟนฟู จากผลการคัดกรองสุขภาพผูสูงอายุ โดยพบวา ผูสูงอายุมีภาวะปวดเขา หรือมี
               แนวโนมที่จะเกิดภาวะขอเขาเสื่อม จํานวน 406 คน คิดเปนรอยละ 6.03 ของจํานวนผูสูงอายุทั้งหมดในอําเภอ

               บานแทน ดังนั้น งานแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก โรงพยาบาลบานแทน จึงบูรณาการการดูแล
               ผูสูงอายุที่มีภาวะขอเขาเสื่อมดวยศาสตรการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก

               วัตถุประสงค  เพื่อศึกษาผลการดูแลผูสูงอายุที่มีภาวะขอเขาเสื่อมดวยศาสตรการแพทยแผนไทยแบบบูรณาการ


               วิธีดําเนินการ เปนการวิจัยเชิงปฏิบัติการ ชวงเดือนตุลาคม 2559 ถึงเดือนมิถุนายน 2560  กลุมตัวอยาง
               ประกอบดวย ผูสูงอายุที่มีแนวโนมที่จะเกิดภาวะขอเขาเสื่อมและขอเขาเสื่อม  จํานวน 406 คน  โดยแนวทาง
               การคัดกรองและใหบริการสุขภาพผูสูงอายุ ประกอบดวย แพทย แพทยแผนไทย พยาบาลผูจัดการการดูแล

               ผูสูงอายุ รวม 3 คน และ อสม. จํานวน 66 คน โดยเลือกกลุมตัวอยางแบบเจาะจง  (Purposive  sampling)
               เก็บขอมูลโดยการสนทนากลุม การสัมภาษณ การสังเกต และการเสวนาทั่วไป ขั้นตอนการศึกษามี 3 ระยะ
               ดังนี้ 1) ประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาองคความรูดานศาสตรการแพทยแผนไทย แก อสม. 2) ทีม อสม.รวม
               ดูแลผูสูงอายุที่มีภาวะขอเขาเสื่อม โดยการพอกเขาดวยสมุนไพร 3) ประเมินผลการดูแลผูสูงอายุที่มีภาวะขอ

               เขาเสื่อมจากการดูแลดวยศาสตรการแพทยแผนไทย

               ผลการศึกษา พบวา ผูสูงอายุที่มีภาวะขอเขาเสื่อมจํานวน 406 คน เปนเพศชาย 189 คน เพศหญิง 217 คน

               เขารับการดูแลดวยศาสตรการแพทยแผนไทยจํานวน 324 คน คิดเปนรอยละ 79.80 ไดรับการรักษาดวย
               วิธีการพอกเขา จํานวน 246 คน คิดเปนรอยละ 75.93  และรับการรักษาดวยแพทยแผนปจจุบัน จํานวน 78
               คน คิดเปนรอยละ 24.07 จากการทําหัตถการพอกเขา พบวา ผูสูงอายุมีอาการสุขสบายขึ้น รอยละ 100 และ
               มีความพึงพอใจตอการดูแลโดยการพอกเขารอยละ 87.95 ทีม อสม. มีความรูและสามารถใหการดูแลผูสูงอายุ
               ที่มีภาวะขอเขาเสื่อมดวยวิธีการพอกเขาเบื้องตนได ทีมสหวิชาชีพ และ อสม. มีความพึงพอใจในการมีสวนรวม

               ในการดูแลผูสูงอายุที่มีภาวะขอเขาเสื่อมดวยศาสตรการแพทยแผนไทยในระดับมากที่สุด

               ขอสรุป ผูสูงอายุที่มีภาวะขอเขาเสื่อมไดรับการดูแลแบบบูรณาการดวยศาสตรการแพทยแผนไทย โดยทีม
               อสม. และทีมสหสาขาวิชาชีพ สงผลใหผูสูงอายุสุขสบายขึ้น และมีความพึงพอใจ ไดแนวทางการดูแลผูสูงอายุ

               แบบมีสวนรวม และสามารถนําวิธีการดูแลแบบบูรณาการขยายผลสูการดูแลผูสูงอายุที่มีการเจ็บปวยโรคอื่นๆ
               ที่สามารถดูแลดวยศาสตรการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือกได




                                                         96
   93   94   95   96   97   98   99   100   101   102   103