Page 66 - journal-14-proceeding
P. 66

บทคัดยอประกวดผลงานวิชาการประจําปการแพทยแผนไทย การแพทยพื้นบาน และการแพทยทางเลือกแหงชาติ ครั้งที่ 14


                                 OPem35G  ผลของการนวดไทยตอการลดภาวะซึมเศราและภาวะวิตกกังวล

                                 ของผูสูงอายุในศูนยพัฒนาการจัดสวัสดิการสังคมผูสูงอายุ


                                             2
                            1
               ภัทรสุดา คลังศรี  , ดารุจ อนิวรรตนพงศ
                                             2
               1 โรงพยาบาลบางกรวย อ.บางกรวย จ.นนทบุรี  ภาควิชาจิตเวชศาสตร คณะแพทยศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
               หลักการและเหตุผล ประเทศไทยของเรากําลังกาวเขาสูสังคมผูสูงอายุ ซึ่งมีจํานวนประชากรผูสูงอายุเพิ่มสูงขึ้น
               อยางตอเนื่อง ผูสูงอายุสวนใหญมีปญหาดานสุขภาพ เพราะเปนวัยที่พละกําลังถดถอยถูกโรคภัยเบียดเบียนได
               งาย นอกจากนี้ผูสูงอายุไทยยังประสบปญหาจากการเปลี่ยนแปลงของสภาพสังคม ทําใหมีผลตอสภาพจิตใจ
               ซึ่งปญหาจิตใจที่พบบอยในผูสูงอายุอันดับหนึ่ง คือ ภาวะซึมเศรา และอันดับสอง คือ ภาวะวิตกกังวล

               โดยเฉพาะผูสูงอายุที่พักอยูในสถานสงเคราะหคนชรา การนวดไทยเปนวิธีการหนึ่งที่สามารถนํามาใชในการ
               บําบัดรักษารวมกับการรักษาแผนปจจุบัน และเปนวิธีที่ผูสูงอายุสวนใหญใชในการบําบัดรักษาเมื่อมีอาการปวด
               ซึ่งการนวดจะชวยทําใหรูสึกผอนคลายทั้งทางรางกายและจิตใจ งานวิจัยนี้จึงไดทําการศึกษาการนวดไทยเพื่อ
               ลดภาวะซึมเศราและภาวะวิตกกังวลในผูสูงอายุ เพื่อศึกษาผลของการนวดตอการเปลี่ยนแปลงของสภาพจิตใจ

               ในผูสูงอายุ ผูที่พักอาศัยในศูนยพัฒนาการจัดสวัสดิการสังคมผูสูงอายุ


               วัตถุประสงค เพื่อศึกษาผลของการนวดไทยตอการลดภาวะซึมเศราและภาวะวิตกกังวลของผูสูงอายุในศูนย
               พัฒนาการจัดสวัสดิการสังคมผูสูงอายุบานบางละมุง จังหวัดชลบุรี โดยเปรียบเทียบผลของการนวดไทยกอน
               และหลังการรักษา และเปรียบเทียบระหวางกลุมทดลองและกลุมควบคุม


               วิธีดําเนินการ งานวิจัยนี้เปนการวิจัยเชิงทดลอง โดยแบงผูเขารวมงานวิจัยออกเปน 2 กลุม คือ กลุมทดลอง
               และกลุมควบคุม และทําการประเมินกอนและหลังการให Intervention คือ การนวดไทย เพื่อศึกษาใน
               ผูสูงอายุที่มีภาวะซึมเศราและภาวะวิตกกังวล ที่พักอาศัยอยูในศูนยพัฒนาการจัดสวัสดิการสังคมผูสูงอายุบาน
               บางละมุง จังหวัดชลบุรี รวมทั้งสิ้น 45 ราย แบงเปนกลุมทดลองจํานวน 23 ราย และกลุมควบคุมจํานวน 22

               ราย ทําการบําบัดทั้งหมด 4 ครั้ง ติดตอกัน (วันเวนวัน) และประเมินภาวะซึมเศรา ภาวะวิตกกังวล และ
               สัญญาณชีพกอนและหลังการให Intervention โดยการใชแบบสอบถามและอุปกรณในการตรวจสัญญาณชีพ


               ผลการศึกษา พบวาการนวดไทยสามารถชวยลดภาวะซึมเศราและภาวะวิตกกังวลในผูสูงอายุได โดยหลังการ
               บําบัดในกลุมทดลองมีภาวะซึมเศราและภาวะวิตกกังวลลดลงอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ P<  0.01 และ
               ระหวางกลุมทดลองกับกลุมควบคุมมีความแตกตางของภาวะซึมเศราและภาวะวิตกกังวลหลังการบําบัดอยางมี

               นัยสําคัญทางสถิติที่ P< 0.01

               ขอสรุป ภาวะซึมเศราและภาวะวิตกกังวลในผูสูงอายุสามารถลดลงไดดวยการนวดไทย 4 ครั้ง ติดตอกัน (วัน

               เวนวัน) และสามารถลดลงไดดวยดวยการนวดไทยที่ต่ํากวา 4 ครั้ง ซึ่งสามารถเห็นผลไดทันทีหลังการนวด คือ
               คะแนนภาวะซึมเศราและภาวะวิตกกังวลลดลง อีกทั้งสัญญาณชีพมีการปรับตัวลดลงอีกดวย โดยเฉพาะความ
               ดันโลหิตและชีพจร การศึกษาวิจัยนี้จะเปนประโยชนและเปนแนวทางในการใชการนวดไทยเพื่อบําบัด
               ผูสูงอายุที่มีภาวะซึมเศราและภาวะวิตกกังวล และเห็นถึงความสําคัญของการดูแลผูสูงอายุที่มีภาวะซึมเศรา

               และภาวะวิตกกังวลไดอีกดวย




                                                         64
   61   62   63   64   65   66   67   68   69   70   71