Page 111 - journal-14-proceeding
P. 111

บทคัดยอประกวดผลงานวิชาการประจําปการแพทยแผนไทย การแพทยพื้นบาน และการแพทยทางเลือกแหงชาติ ครั้งที่ 14


                                        PPem37R ประสิทธิผลของแผนเจลสมุนไพรบรรเทาอาการปวดขอเขาเสื่อมใน
                                        ผูสูงอายุ ตําบลบอสุพรรณ อําเภอสองพี่นอง จังหวัดสุพรรณบุรี



               ศักดิ์ชาย บุญมาก,  สุภาพร แรใจดี,  ลลิดา สุนทรโภคิน, ภัชรินทร กลั่นคูวัฒน
               สถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติ 60 พรรษา นวมินทราชินี ตําบล บอสุพรรณ อําเภอสองพี่นอง จังหวัดสุพรรณบุรี

               หลักการและเหตุผล โรคขอเขาเสื่อมเปนโรคหนึ่งในสิบโรคที่เปนสาเหตุสําคัญ อันกอใหเกิดผูสูงอายุ ทุพพล
               ภาพ สงผลผูปวยตองมีชีวิตอยูอยางไรสมรรถภาพในการประกอบอาชีพ หรือการใชชีวิตประจําวัน จากภูมิ

               ปญญาไทยในการใชสมุนไพร พอกรักษาอาการเขาเสื่อมดวยสมุนไพรฤทธิ์เย็น สงเสริมการใชสมุนไพรไทยที่มี
               อยูในทองถิ่น และเปนการอนุรักษภูมิปญญาหมอพื้นบาน จากการจัดกิจกรรมพอกเขาดวยน้ําสมุนไพรฤทธิ์เย็น
               ผสมดินสอพองในกลุมผูสูงอายุที่มีปญหาโรคขอเขาเสื่อมแบบจับโปงแหง พบวา ผูสูงอายุที่พอกเขา ไมสามารถ

               ลุกเดิน หรือทํากิจกรรมอื่นๆได  เพราะสมุนไพรที่ผสมดินสอพองจะหลุดลอก ทําใหประสิทธิผลของการพอก
               เขาดวยสมุนไพรลดลง ดังนั้นจึงไดคิดคนนวัตกรรม แผนเจลสมุนไพรบรรเทาอาการปวดขอเขาเสื่อม ชวยฟนฟู
               ชะลอความเสื่อมของขอเขา สามารถใชงานงายเกิดความสะดวกสบาย ขณะใชงานผูสูงอายุสามารถทํากิจวัตร
               ประจําวันได ประหยัดคาใชจายและสงเสริมการอนุรักษสมุนไพรที่มีอยูในชุมชนใหเกิดประโยชนสูงสุด


               วัตถุประสงค  เพื่อศึกษาประสิทธิผลของแผนเจลสมุนไพรบรรเทาอาการปวดขอเขาเสื่อมในผูสูงอายุ ที่ปวย
               เปนโรคขอเขาเสื่อม


               วิธีการดําเนินการ  งานวิจัยนี้เปนการวิจัยแบบกึ่งทดลอง โดยใชแผนเจลสมุนไพร ประกอบดวย สะเดา
               ยานาง  รางจืด  ใบเตย และตําลึง ซึ่งมีสรรพคุณมีฤทธิ์ชวยระงับปวดและบวมในขอ โดยทดลองในผูสูงอายุที่
               ปวยเปนโรคขอเสื่อมและไดรับการวินิจฉัยจากนักการแพทยแผนไทยวาเปนโรคจับโปงแหง จํานวน 160 คน ใช
               เจลสมุนไพรพอกเขาเปนระยะเวลาติดตอกัน 15 วัน  โดยประเมินระดับความเจ็บปวดดวยเครื่องมือ visual

               rating  scales for pain  ประเมิน 3 วัน/ครั้ง ทั้งหมด 6 ครั้ง และวัดองศาการเคลื่อนไหวของขอเขาดวย
               เครื่องมือ goniometer

               ผลการศึกษา  พบวา ประสิทธิผลของแผนเจลสมุนไพรมีผลตอการลดระดับความเจ็บปวด โดยมีคาเฉลี่ยระดับ

               ความเจ็บปวดเปรียบเทียบกันระหวางกอนการทดลอง (ครั้งที่ 1 คาเฉลี่ยเทากับ 6.45) กับหลังการทดลองอีก 5
               ครั้ง  (ครั้งที่ 2 – ครั้งที่ 6 ) พบวา คาเฉลี่ยระดับความเจ็บปวดลงลงอยางเนื่องมีคาเฉลี่ยเทากับ 6.19,  5.41,
               5.01, 4.44 และ 4.10 ตามลําดับ อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p<0.001)  และระดับองศาการเคลื่อนไหวของขอ

               เขากอนการทดลอง คาเฉลี่ยเทากับ 115.91  กับหลังการทดลองคาเฉลี่ยเทากับ 118.76 พบวามีองศาการ
               เคลื่อนไหวของขอเขาที่เพิ่มขึ้น อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p<0.001)

               ขอสรุป      แผนเจลสมุนไพรบรรเทาอาการปวดนี้สามารถนําไปใชในการลดอาการปวดกลามเนื้อในตําแหนง

               ตางๆของรางกาย ในผูปวยที่มีระดับความเจ็บปวดไมรุนแรง และเปนการลดการใชยาในกลุมแกปวดกลามเนื้อ
               (NSAID) ซึ่งมีผลกระทบตอรางกายของผูปวยทั้งแบบเฉียบพลันและระยะยาว






                                                         109
   106   107   108   109   110   111   112   113   114   115   116