Page 107 - journal-14-proceeding
P. 107
บทคัดยอประกวดผลงานวิชาการประจําปการแพทยแผนไทย การแพทยพื้นบาน และการแพทยทางเลือกแหงชาติ ครั้งที่ 14
PP60R2R0060 ประสิทธิผลโปรแกรมการฟนฟูมารดาหลังคลอดดวยการแพทย
แผนไทยในโรงพยาบาล
สรัญญา คุมไพฑูรย, สุภาพร ปญญาวงษ
กลุมงานการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก โรงพยาบาลยางสีสุราช จังหวัดมหาสารคาม
หลักการและเหตุผล การฟนฟูรางกายของมารดาหลังคลอดในชวง 2 เดือนแรก จะทําใหมีสุขภาพที่แข็งแรง มดลูกเขาอูได
เร็ว ชวยขับน้ําคาวปลา และลดการหยอนยานของหนาทอง ซึ่งการดูแลมารดาหลังคลอดดวยการแพทยแผนไทยเปนอีก
ทางเลือกหนึ่งที่เปนการฟนฟูรางกายใหกลับเขาสูสภาวะปกติ จากสถิติ รพ.ยางสีสุราช มีมารดาหลังคลอดมารับบริการป
2557,2558 จํานวน 97,66 รายตามลําดับ ซึ่งประมาณรอยละ 50 มารับบริการฟนฟูหลังคลอดดวยการแพทยแผนไทย
สงผลใหรางกายกลับเขาสูภาวะปกติไดเร็วกวามารดาหลังคลอดที่ไมไดรับบริการฟนฟูดวยการแพทยแผนไทย ดังนั้น
ผูวิจัยจึงสนใจที่จะนําการฟนฟูหลังคลอดดวยการแพทยแผนไทย ไดแก การนวด ประคบสมุนไพร การทับหมอเกลือ อบ
สมุนไพร และการจายยาสมุนไพร มาใชในการดูแลมารดาหลังคลอด เพื่อใหมารดาเขาสูภาวะรางกายที่ปกติตอไป
วัตถุประสงค เพื่อศึกษาประสิทธิผลโปรแกรมการฟนฟูมารดาหลังคลอดดวยการแพทยแผนไทยในโรงพยาบาลยางสีสุราช
จังหวัดมหาสารคาม
วิธีดําเนินการ การวิจัยครั้งนี้.เปนการวิจัยกึ่งทดลองแบบสองกลุมวัดกอนหลัง..ระยะเวลาทําการศึกษาเดือนมกราคม
2559-เดือนเมษายน 2560 ประชากรและกลุมตัวอยาง ทําการเลือกกลุมประชากร และกลุมตัวอยางทั้งหมดในมารดาหลัง
คลอดที่สมัครใจเขารวมโครงการ โดยมีเกณฑการคัดเขา ไดแก มารดาหลังคลอดที่ไมมีภาวะแทรกซอนใดๆเกณฑการคัด
ออก.ไดแก.มารดาหลังคลอดที่มีภาวะแทรกซอน.และไมสามารถมารับบริการไดตอเนื่องกัน 5 ครั้ง ไดกลุมตัวอยางจํานวน
40 คน แบงเปนกลุมควบคุม 20 คน กลุมทดลอง 20 คน โดยกลุมควบคุมไดรับการดูแลปกติ กลุมทดลองไดรับการฟนฟู
มารดาหลังคลอดดวยการแพทยแผนไทยโดยการนวด ประคบสมุนไพร ทับหมอเกลือ อบสมุนไพร และการใหคําแนะนํา
มารดาหลังคลอด ตอเนื่องกันจํานวน 5 ครั้ง เครื่องมือในการวิจัย คือ แบบบันทึกขอมูลสวนบุคคล แบบประเมินสุขภาพ
ทั่วไป แบบประเมินสัดสวนมารดาหลังคลอด โปรแกรมฟนฟูมารดาหลังคลอดดวยการแพทยแผนไทยที่ผูวิจัยพัฒนาขึ้นจาก
การประยุกตของกรมแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือกที่ผานการตรวจสอบจากผูเชี่ยวชาญ วิเคราะหขอมูล โดยใช
สถิติเชิงพรรณนา : จํานวน รอยละ และสถิติเชิงอนุมาน : สถิติ Paired-t-test
ผลการศึกษา เมื่อเปรียบเทียบน้ําหนัก รอบเอวและรอบสะโพกในกลุมตัวอยางที่เปนกลุมทดลองและกลุมควบคุมกอนการ
ไดรับการฟนฟูดวยแพทยแผนไทย พบวาไมแตกตางกัน ทั้งนี้ภายหลังจากเขารับการฟนฟูดวยแพทยแผนไทย พบวากลุม
ตัวอยางที่เปนกลุมทดลองมีน้ําหนัก รอบเอว และรอบสะโพกลดลงกอนการฟนฟูอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ โดยกลุม
ทดลองมีคาเฉลี่ยน้ําหนักลดลง 3.5 กิโลกรัม ขนาดรอบเอวลดลง 2.8 เซนติเมตร รอบสะโพกลดลง 2.5 เซนติเมตร และเมื่อ
เปรียบเทียบน้ําหนัก รอบเอว และรอบสะโพกกอนการฟนฟูในกลุมตัวอยางที่เปนกลุมควบคุมกอน และหลังการทดลอง
พบวามีน้ําหนักรอบเอว และรอบสะโพกกอนการฟนฟูอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ โดยมีคาเฉลี่ยน้ําหนักลดลงลดลง 1.2
กิโลกรัม รอบเอวลดลง 1.4 เซนติเมตร และรอบสะโพกลดลง 1.2 เซนติเมตร และไมพบภาวะแทรกซอนใดๆ ในมารดาหลัง
คลอด
ขอเสนอแนะ จากการศึกษาการฟนฟูมารดาหลังคลอดดวยการแพทยแผนไทย สงผลใหมารดาหลังคลอดที่ไดรับโปรแกรมมี
น้ําหนัก รอบเอว และรอบสะโพกลดลงมากกวากลุมที่ดูแลหลังคลอดปกติ และไมพบภาวะแทรกซอนใดๆ ในมารดาหลัง
คลอด ดังนั้นจึงเหมาะสมที่จะดําเนินการสนับสนุนการใชศาสตรทางแพทยแผนไทยในการฟนฟูมารดาหลังคลอด เพื่อให
รางกายเขาสูภาวะปกติไดเร็วขึ้นตอไป
105