Page 106 - journal-14-proceeding
P. 106

บทคัดยอประกวดผลงานวิชาการประจําปการแพทยแผนไทย การแพทยพื้นบาน และการแพทยทางเลือกแหงชาติ ครั้งที่ 14


                                         PP60R2R0058  การประยุกตใชทฤษฏีการดูแลตนเองตอการลดความเจ็บปวด
                                         ของผูสูงอายุขอเขาเสื่อม


                                            2
                            1
                                                            2
               อนุชิต  สวางแจง  , สมบัติ  อินทเกษร  , ธัญลักษณ  พรมตัน
               1 สํานักงานสาธารณสุขอําเภอบอไร จังหวัดตราด   โรงพยาบาลบอไร จังหวัดตราด
                                                   2

               หลักการและเหตุผล โรคขอเขาเสื่อม (Osteoarthritis of the knee) เปนโรคที่มีความผิดปกติของเยื่อบุขอ หรือผิว
               กระดูกออน ซึ่งทําใหปวดขอ เคลื่อนไหวขอลําบาก เกิดการเสียดสีขณะเคลื่อนไหว  ผลเสียของโรคนี้คือรักษาไม

               หายขาด ไมกลับสูสภาพปกติ และจะทวีความรุนแรงขึ้น อาจทําใหเกิดความพิการ ปจจุบันไดมีการรักษาในหลายๆ
               วิธี เชน การรักษาโดยการใชยาและไมใชยา สําหรับการรักษาโดยการไมใชยา ไดแกการรักษาทางเวชศาสตรฟนฟู
               เชน การประคบดวยความเย็นหรือความรอน การออกกําลังกลามเนื้อรอบๆ ขอ ซึ่งการใชทฤษฏีการดูแลตนเองตอ
               การลดความเจ็บปวดจะทําใหประหยัดเวลาและคาใชจายในการรักษา สามารถบรรเทาอาการปวดขอเขาไดดวยตนเอง

               สะดวกเพราะทําไดเองที่บาน  สงผลใหผูสูงอายุขอเขาเสื่อมเกิดความรู ทักษะ พัฒนาศักยภาพและเห็นความสําคัญใน
               การปฏิบัติตัวเพื่อดูแลตนเอง

               วัตถุประสงค เพื่อเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยของความรูเกี่ยวกับขอเขาเสื่อมดานแผนไทย ความพึงพอใจตอตนเอง

               ความเจ็บปวดของขอเขาในผูสูงอายุขอเขาเสื่อม ของกลุมทดลองกอนและหลังการประยุกตใชโปรแกรม  และเพื่อ
               เปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยของความรูเกี่ยวกับขอเขาเสื่อมดานแผนไทย ความพึงพอใจตอตนเอง   ความเจ็บปวดของ
               ขอเขาในผูสูงอายุขอเขาเสื่อม  ระหวางกลุมที่ไดรับโปรแกรมและไมไดรับโปรแกรม  และศึกษาความพึงพอใจตอ
               ตนเองและตอโปรแกรมลดปวดในกลุมทดลอง

               วิธีดําเนินการ การวิจัยนี้เปนการวิจัยแบบกึ่งทดลอง (Quasi-Experimental Research) แบบมีกลุมควบคุม วัดผล
               กอนและหลังการทดลอง (Pre- Post-test control group design) กลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัยไดแกผูสูงอายุขอเขา
               เสื่อมในอําเภอบอไร จังหวัดตราด จํานวน 60 คน แบงเปนกลุมทดลอง 30 คน และกลุมควบคุม 30 คน  ในกลุม
               ทดลองประยุกตใชทฤษฏีการดูแลตนเองตอการลดความเจ็บปวด ประกอบดวย การสรางสัมพันธภาพ  การใหความรู

               เกี่ยวกับขอเขาเสื่อม และการสอนโปรแกรมการดูแลตนเองเพื่อลดอาการปวดขอ 5  ขั้นตอน ดวยวีดีโอ  ไดแก
               1.Check (ตรวจสอบประเมินขอเขา) 2. Hot Pack (ประคบรอนขอเขา) 3. Active knee (ออกกําลังกายขอเขา) 4.
               Rest (พัก) และ 5. Massage (นวดขอเขา) และกิจกรรมติดตาม และกระตุนเตือน รวมทั้งสิ้น 45 วัน สวนในกลุม

               ควบคุมไมไดรับโปรแกรม  ประเมินผลกอน-หลังทดลองดวยแบบสอบถาม  และทดสอบสมมติฐานดวย t-test for
               dependent sample

               ผลการวิจัย พบวาภายหลังการทดลอง กลุมทดลอง มีคะแนนเฉลี่ยความรูเกี่ยวกับขอเขาเสื่อมดานการแพทยแผน
               ไทย คะแนนความพึงพอใจตอตนเอง และความเจ็บปวดของขอเขา ดีกวากลุมควบคุม อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่

               ระดับ .05 และยังพบอีกวา ภายหลังการทดลอง กลุมทดลองมีความพึงพอใจตอโปรแกรมลดปวดในอยูในระดับสูง (
                x =4.05, S.D.= 0.51)

               ขอสรุป จากการวิจัยชี้ใหเห็นวาการประยุกตใชทฤษฏีการดูแลตนเองตอการลดความเจ็บปวดของผูสูงอายุขอเขา

               เสื่อม ทําใหสามารถลดความเจ็บปวดขอในผูสูงอายุที่เปนโรคขอเขาเสื่อมเปนอยางดี ดังนั้นสถานบริการและผูบริหาร
               ดานการแพทยแผนไทย จึงควรนําไปใชใหสอดคลองกับบริบทของหนวยงานตอไป



                                                         104
   101   102   103   104   105   106   107   108   109   110   111