Page 104 - journal-14-proceeding
P. 104

บทคัดยอประกวดผลงานวิชาการประจําปการแพทยแผนไทย การแพทยพื้นบาน และการแพทยทางเลือกแหงชาติ ครั้งที่ 14


                                        PP60R2R0012  ผลของการบริหารรางกายดวยมณีเวช เพื่อลดอาการปวดหลัง
                                        สวนลาง


                                             1
                             1
                                                         1
               เกณิกา หังสพฤกษ  , อารีรัตน  นวลแยม , อารียา  หวังดี
               1
                กลุมงานการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก โรงพยาบาลหาดใหญ
               หลักการและเหตุผล  การเจ็บปวยดวยโรคระบบกลามเนื้อและกระดูกเปนปญหาสุขภาพที่สําคัญอยางหนึ่งในปจจุบัน สงผลทํา
               ใหเกิดความไมสุขสบายในระหวางการทํางานหรือกิจกรรมตาง ๆ การออกกําลังกายดวยตัวเองเปนวิธีที่ชวยลดอาการปวดหลัง
               สวนลางได ซึ่งการบริหารรางกายดวยมณีเวช เปนอีกวิธีที่หนึ่งที่สามารถนํามาใชลดอาการปวดหลังสวนลางนั้นได

               วัตถุประสงค เพื่อศึกษาผลของการบริหารรางกายดวยมณีเวชในการลดอาการปวดหลังสวนลาง

               วิธีดําเนินการ    เปนการวิจัยแบบกึ่งทดลอง กลุมตัวอยางจํานวน 35 คน ไดรับการวินิจฉัยจากแพทยวามีอาการปวดหลัง
               สวนลาง เขารับการรักษาที่โรงพยาบาลหาดใหญ  ตั้งแตเดือนมีนาคม–กันยายน พ.ศ.2559  กลุมตัวอยางจะไดรับการสอน
               บริหารมณีเวช จํานวน 8 ทา โดยทําทุกวัน วันละ 2  ครั้ง เชา-เย็น เปนระยะเวลา 4 สัปดาห เก็บขอมูลโดยใชแบบประเมิน
               อาการปวดหลังสวนลาง ของ Roland –Morris Disability Questionnaire (Thai Version)และแบบประเมินอาการปวดโดย
               ใชมาตรวัดความปวดแบบตัวเลขสถิติที่ใชในการศึกษา ไดแก คาเฉลี่ย ± สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และใช paired t-test ใน
               การทดสอบสมมติฐาน

               ผลการศึกษา  พบวาคะแนนความปวดกอนการรักษาลดลงหลังติดตามผลไป 1 สัปดาห (คาเฉลี่ย 6.37±0.36 กับ

               4.97±0.34, p<0.05) และเมื่อหลังการรักษาครบ 4 สัปดาห พบวาคะแนนความปวดลดลงอยางมีนัยสําคัญเมื่อเทียบกับกอน
               การรักษา (คาเฉลี่ย 6.37±0.36 และ3.80±0.29, p<0.05) สวนของการประเมินอาการปวดหลังสวนลาง โดยใช Roland –
               Morris Disability นั้นพบวากอนและหลังการรักษาลดลงอยางมีนัยสําคัญเชนกัน (8.71± 0.80 และ 5.60± 0.75, p<0.05)

               ขอสรุป การบริหารรางกายดวยมณีเวชสามารถลดอาการปวดหลังสวนลางได























                                                         102
   99   100   101   102   103   104   105   106   107   108   109