Page 102 - journal-14-proceeding
P. 102

บทคัดยอประกวดผลงานวิชาการประจําปการแพทยแผนไทย การแพทยพื้นบาน และการแพทยทางเลือกแหงชาติ ครั้งที่ 14


                                      PPem49R  การแพทยพื้นบานกับการดูแลสุขภาพ: กรณีศึกษาหมอวิรัตน กาลภูมิ
                                      จังหวัดเลย


               นายธวัชชัย นาใจคง
               งานแพทยแผนไทย โรงพยาบาลนาแหว อําเภอนาแหว จังหวัดเลย

               หลักการและเหตุผล  การแพทยพื้นบานเกิดขึ้นบนพื้นฐานของความสัมพันธระหวางสังคมกับระบบนิเวศ
               รอบตัว คนกับคน คนกับธรรมชาติ และคนกับปรากฏการณเหนือธรรมชาติ ยอมรับและสืบทอดตนเองผาน
               ความสัมพันธนั้น ตกผลึกกลายเปนภูมิปญญาที่รังสรรคขึ้นใชดูแลสุขภาพของคนในชุมชน หมอวิรัตน กาลภูมิ
               เปนบุคคลหนึ่งที่ผานกระบวนการดังกลาวขางตน โดยไดรับการถายทอดผานระบบเครือญาติ


               วัตถุประสงค  เพื่อศึกษาภูมิหลังการเปนหมอพื้นบาน รวบรวมองคความรูที่หมอพื้นบานใชดูแลสุขภาพ และ
               เทียบเคียงความสอดคลองของการใชสมุนไพรกับฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาที่มีการศึกษาในปจจุบัน


               วิธีดําเนินการ  วิจัยนี้เปนวิจัยเชิงคุณภาพ ซึ่งศึกษาผานหมอวิรัตน กาลภูมิ หมอพื้นบานอําเภอนาแหว จังหวัด
               เลย โดยวิธีการสัมภาษณอยางไมเปนทางการ การสัมภาษณเชิงลึกและสังเกตแบบมีสวนรวม

               ผลการศึกษา  จากการศึกษาพบวาหมอวิรัตน กาลภูมิ ไดรับการถายทอดองคความรูผานระบบเครือญาติ คือ

               คุณตาและคุณยาย หลังจากยายภูมิลําเนามาที่อําเภอนาแหว จังหวัดเลย ไดมีการประยุกตใชสมุนไพรพื้นถิ่นใน
               การดูแลสุขภาพของคนในชุมชน นอกจากนี้ยังไดศึกษาเพิ่มเติมจากศูนยศึกษาและสงเสริมสุขภาพแพทยแผน
               ไทย จังหวัดเลย มีการถายทอดองคความรูใหแกชุมชน ผานการเรียนการสอนในโรงเรียนนาแหววิทยา ยังไมมี
               ลูกศิษยที่รับถายทอดโดยตรง การวินิจฉัยโรคใชวิธีการซักถามและสังเกตจากทาทาง สีผิว สีหนา แววตา คําพูด

               โดยหลักการจายยาจะใหยาแรงกอนเพื่อใหยาทันกับโรคที่เปน คูกับยาบํารุง และมีการแทรกกระสายยา หาก
               ผูปวยมีอาการขางเคียงจากการใชยา สําหรับสมุนไพร ตํารับยา ที่ใชการดูแลสุขภาพนั้นมีทั้งหมด 29 ตํารับ
               แบงเปนตํารับยาสมุนไพรที่ใชดูแลสุขภาพ 3 ตํารับ และตํารับยาสมุนไพรที่ใชรักษาโรค 26 ตํารับ รวมถึง
               สํารวจพบภูมิปญญาในการเก็บรักษาสมุนไพรจําพวกผล หัว เหงา 1 วิธี ภูมิปญญาในการรักษาโรคดวยการฝง

               ดิน 2 อาการ สมุนไพรที่      หมอวิรัตนใชมากที่สุดคือยาหัวใหญ หรือขาวเย็นเหนือ เนื่องจากมีความเชื่อวา
               สมุนไพรชนิดนี้เปนยาคุม จะใชคุมฤทธิ์ยาหลักไมใหออกฤทธิ์เกินไปจนมีอันตรายกับผูใช และทําใหรสยาสุขุม
               ขึ้น ทั้งนี้เมื่อทบทวนการศึกษาในแงของเภสัชวิทยาและพิษวิทยา พบวา ขาวเย็นเหนือ มีฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา

               บางอยาง เชน ฤทธิ์ตานอนุมูลอิสระ สอดคลองกับการใชของหมอพื้นบาน

               ขอสรุป  จากการศึกษาในครั้งนี้ทําใหเห็นถึงประโยชนของการรวบรวมองคความรูหมอพื้นบาน เพื่อพัฒนาองค

               ความรู ตอยอด สรางความเชื่อมั่นแกสหวิชาชีพ และนํามาปรับใชกับผูปวยในสถานบริการตอไป









                                                         100
   97   98   99   100   101   102   103   104   105   106   107