Page 103 - journal-14-proceeding
P. 103

บทคัดยอประกวดผลงานวิชาการประจําปการแพทยแผนไทย การแพทยพื้นบาน และการแพทยทางเลือกแหงชาติ ครั้งที่ 14


                                      PPem63R ถุงหอมสมุนไพรขางเตียง



               เผด็จ จันทรแดง
               โรงพยาบาลกุดชุม จังหวัดยโสธร

               หลักการและเหตุผล  โรงพยาบาลกุดชุมไดมีการรักษาแบบผสมผสานระหวางการแพทยแผนไทยรวมกับการ
               รักษาแผนปจจุบัน ซึ่งโรคหอบหืด (Asthma) เปนโรคทางเดินหายใจเรื้อรังชนิดหนึ่ง พบไดบอยในคนทุกวัย
               ทุกเชื้อชาติและเปนปญหาสาธารณสุข สงผลกระทบตอคุณภาพชีวิตและการดําเนินชีวิตของผูปวย จากขอมูล

               สถิติของคลินิกโรคหอบหืดโรงพยาบาลกุดชุมป 2559 พบปญหาอาการหอบหืดระยะที่1-2  ของโรงพยาบาล
               รอยละ 49.52  ดังนั้นกลุมงานการแพทยแผนไทยและแพทยทางเลือก จึงสนใจศึกษาคิดนวัตกรรมถุงหอม
               สมุนไพรขึ้น เพื่อใหผูปวยไวใชเองเพื่อบรรเทาอาการ และเปนสมุนไพรที่หางายในทองถิ่น ตนทุนไมแพง

               วัตถุประสงค เพื่อศึกษาผลการใชถุงหอมสมุนไพรบรรเทาอาการหอบหืด ในผูปวยโรคหอบหืดระยะที่ 1–2
               ของผูมารับบริการที่ตึกผูปวยนอกโรงพยาบาลกุดชุม จังหวัดยโสธร

               วิธีดําเนินการ การศึกษาครั้งนี้เปนการวิจัยเชิงปฏิบัติการ เลือกกลุมตัวอยางแบบเจาะจงจํานวน 38 ราย ตาม

               คุณสมบัติทีกําหนดไว ระยะดําเนินการเดือน 1  พฤศจิกายน 2559 –  31 เมษายน 2560 ประกอบดวย 4
               ขั้นตอน 1) วางแผนโดยมีเกณฑการคัดเขาศึกษาคือเปนผูปวยหญิง/ชาย ที่มีอายุตั้งแต 15  ปขึ้นไป ไดรับ
               ความรูเรื่องโรคหอบหืดและสมุนไพรที่ใชกับโรค วิเคราะหสถานการณ วางแผนในการปฏิบัติการ 2)ขั้น

               ปฏิบัติการตามแนวทางที่กําหนดโดยผูปวยไดรับการวินิจฉัยจากแพทยแผนปจจุบันวาเปนโรคหอบหืดระยะที่
               1–2  ผานการคัดกรองตามแนวทางใหบริการทางการแพทยแผนไทย ยินยอมมาติดตามการรักษาเปนเวลา 1
               เดือน โดยที่ผูปวยไดรับถุงหอมสมุนไพรจํานวน 1 ถุง/คนรวมกับการใชยาขยายหลอดลมติดตอกัน 1 เดือน 3)
               ขั้นสังเกตการณ โดยการสังเกต ติดตาม บันทึกผลและประเมินผล 4)ขั้นสะทอนผลการปฏิบัติงาน โดยการอธิป
               รายกลุมรวมกัน  เปนการประเมินผลและรวมวางแผนปฏิบัติการครั้งตอไป ขอมูล เครื่องมือที่ใชในการวิจัย

               ประกอบดวยถุงหอมสมุนไพรขนาด 30 กรัม การเก็บรวบรวมขอมูลประกอบดวยแบบบันทึกขอมูลทั่วไปและ
               แบบประเมินสมรรถนะปอดของผูปวยหอบหืดระยะที่ 1–2  และแบบประเมินความพึงพอใจ วิเคราะหขอมูล
               ดวยสถิติรอยละ คาเฉลี่ย


               ผลการศึกษา พบวาในผูปวย 38 ราย มีสมรรถนะปอดดีขึ้น 28 รายคิดเปนรอยละ73.68 มีสมรรถนะปอดเทา
               เดิม 2 รายคิดเปนรอยละ5.26 มีสมรรถนะปอดลดลงเล็กนอย 8 รายคิดเปนรอยละ21.25 ทั้งนี้เกิดจากผูปวยมี
               ปจจัยอื่นที่สงเสริมใหดอยลงจากการสูบบุหรี่  ดานความพอใจของการรับบริการในภาพรวมอยูในระดับดีมาก

               รอยละ 85 รองลงมาคือ ระดับดี รอยละ 15 ตามลําดับ

               ขอสรุป การใชถุงหอมสมุนไพรรวมกับการใชยาขยายหลอดลมติดตอกัน 1 เดือนมีการใชยาลดลง 28 ราย ใน
               38 ราย จะไดวาถุงหอมสมุนไพร สามารถบรรเทาอาการหอบหืดระยะตนได ชวยทําใหการรักษาโรคหืดไดผลดี

               ขึ้น ลดการใชยาขยายหลอดลม ไมพบอาการแทรกซอนจากการใชถุงหอมสมุนไพร รวมทั้งคุณภาพชีวิตของ
               ผูปวยดีขึ้น ทั้งยังเปนสมุนไพรที่หางายในทองถิ่นและตนทุนไมแพง เปนแบบอยางใหโรงพยาบาลอื่นๆ ใน
               การบูรณาการการรักษาแบบผสมผสานระหวางการแพทยแผนไทยรวมกับการรักษาแผนปจจุบัน



                                                         101
   98   99   100   101   102   103   104   105   106   107   108