Page 248 - Acrobat J Trad-21-3-2566
P. 248
J Thai Trad Alt Med Vol. 21 No. 3 Sep-Dec 2023 731
ขอบขนาน กว้างประมาณ 0.4 มิลลิเมตร ยาวประมาณ ข้อบ่งใช้ -
0.8 มิลลิเมตร ช่อดอกเพศเมีย กว้าง 2.5 มิลลิเมตร ต�าราสรรพคุณยาไทยว่า พลูมีรสเผ็ดร้อน เป็น
[7]
ยาว 2.5-8 เซนติเมตร ก้านช่อยาว 2-4 เซนติเมตร ยาฆ่าเชื้อโรค เร่งและขับแก๊สในท้อง แก้ลมพิษ [8]
ใบประดับย่อยสีขาวหม่น รูปค่อนข้างกลม เส้นผ่าน ข้อมูลจากการศึกษาวิจัยพรีคลินิกพบว่าพลู
[9]
ศูนย์กลางประมาณ 1 มิลลิเมตร ดอกเพศเมียมีรังไข่ มีฤทธิ์ปรับปรุงภูมิคุ้มกัน ต้านการเกิดแผลใน
ใต้วงกลีบ มี 1 ช่อง ออวุล 1 เม็ด ยอดเกสรเพศเมีย กระเพาะอาหารที่เกิดจากการได้รับยาอินโดเมทาซิน
[10]
3-7 แฉก ผล ออกเป็นช่อผลรูปทรงกระบอก กว้าง (indomethacin) ต้านการเกาะกลุ่มของเกล็ดเลือด
[11]
3-9 มิลลิเมตร ยาว 4-8 เซนติเมตร ก้านช่อยาว 2.5-4 ต้านออกซิเดชัน [12-13] ต้านการสร้างสารสื่อภูมิแพ้
[14]
เซนติเมตร ผลแบบผลมีเนื้อหนึ่งเมล็ด รูปค่อนข้าง (allergic mediator) ต้านเชื้อราที่ก่อโรคกลาก
กลม เส้นผ่านศูนย์กลาง 2-5 มิลลิเมตร ติดแนบตาม (dermatophyte) และเชื้อ Candida albicans [15-16]
แกนช่อผล มักไม่ติดผล [1,3-5] ต้านเชื้อแบคทีเรียในช่องปากที่ท�าให้เกิดหินปูน [17]
[18]
ถิ่นกำาเนิดและการกระจายพันธุ์ พืชชนิดนี้ ปากเหม็น และคราบจุลินทรีย์ไบโอฟิล์ม (biofilm)
มีเขตการกระจายพันธุ์ในเขตร้อนและกึ่งร้อน ใน ในช่องปาก [19]
ประเทศไทยพบมากทางภาคใต้ ปลูกได้ทั่วไปในทุก หมายเหตุ
ภาค ในต่างประเทศพบที่ประเทศอินเดีย จีน ภูมิภาค 1. ยาสมุนไพรส�าหรับงานสาธารณสุขมูลฐาน
มาเลเซีย [1,3-5] ใช้ใบพลูเป็นยารักษาอาการแพ้ อักเสบ แมลงสัตว์กัด
ลักษณะเครื่องยา พลูมีลักษณะเป็นใบเดี่ยว ต่อย ได้ผลดีกับอาการแพ้ลักษณะลมพิษ โดยเอาใบ
แห้ง ทั้งที่เป็นใบสมบูรณ์หรือชิ้นส่วนของใบ สีน�้าตาล 1-2 ใบ ต�าให้ละเอียดผสมกับเหล้าขาว ทาบริเวณที่
แกมสีเขียว ใบสมบูรณ์ รูปหัวใจ รูปไข่ รูปรี หรือรูปใบ เป็น โดยห้ามใช้กับแผลเปิดจะท�าให้แสบมาก [8]
หอก ปลายใบแหลม โคนใบรูปหัวใจหรือรูปมนแกม 2. แพทย์พื้นบ้านใช้น�้าคั้นใบสดกินเป็นยาขับ
เบี้ยว ด้านล่างสีจางกว่าด้านบน รสเผ็ด ปร่า [1] ลม ใช้ใบสด 3-4 ใบ ขยี้หรือต�าให้ละเอียดผสมเหล้า
[20]
องค์ประกอบทางเคมี ใบพลูมีน�้ามันระเหย โรงเล็กน้อยทาเป็นยาแก้ลมพิษ บรรเทาอาการคัน .
ง่าย (volatile oil) ประกอบด้วยสารกลุ่มเทอร์พีนอยด์
เอกสารอ้างอิง
(terpenoids) เช่น ยูจีนอล (eugenol), แคริโอฟิลลีน
1. Thai Herbal Pharmacopoeia. Vol. II. Nonthaburi: Depart-
(caryophyllene) และสารอื่น เช่น เอสทราโกล (es- ment of Medical Sciences, Ministry of Public Health;
tragole), แชวิคอล (chavicol), ไฮดรอกซีแชวิคอล 2000. p. 63.
2. สมาคมโรงเรียนแพทย์แผนโบราณในประเทศไทย ส�านักวัด
(hydroxychavicol) นอกจากนี้ พบสารกลุ่มไพริดีน พระเชตุพนฯ. ประมวลสรรพคุณยาไทย (ภาคสอง) ว่าด้วย
แอลคาลอยด์ (pyridine alkaloids), สารกลุ่มซิโท- พฤกษชาติ วัตถุธาตุ และ สัตว์วัตถุนานาชนิด. กรุงเทพฯ :
สเตอรอล (sitosterols), สารกลุ่มแทนนิน (tannins), โรงพิมพ์อ�าพลพิทยา; 2510. หน้า. 225-6.
3. Huber H. Piperaceae. In : Dasanayake MD, Fosberg FR.
บีตา-แคโรทีน (β-carotene) แอลฟา-โทโคเฟอรอล (editors). A revised handbook to the flora of Ceylon. Vol.
(a-tocopherol) วิตามินซี (vitamin C) กรดอะมิโน 6. Rotterdam: AA Balkema; 1988. p. 287-8.
4. เฉลิมพล สุวรรณภักดี. การศึกษาอนุกรมวิธานพืชสกุลพริก
(amino acids) เป็นต้น ไทย (Piper L.) ในประเทศไทย. วิทยานิพนธ์ (วิทยาศาสตร์มหา
[1,6]