Page 201 - Acrobat J Trad-21-3-2566
P. 201
684 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 21 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2566
อภิปรำยผล ขณะที่การศึกษาวิจัยการใช้ TDZ เพียงอย่างเดียวที่
จากการฟอกชิ้นส่วนของเนื้อเยื่อเจริญส่วนของ ความเข้มข้น 0.1-0.5 มิลลิกรัมต่อลิตร ท�าให้เกิดการ
[19]
ข้อปอปิดโดยใช้ไฮเตอร์ ซึ่งเป็นชื่อทางการค้า โดยฟอก พัฒนาของแคลลัสได้ดี เช่น ต้นชะเอมเทศ ส่วน
ครั้งแรกใช้ความเข้มข้นของไฮเตอร์ร้อยละ 10 เป็น อาหารสูตรอื่น ๆ ได้แก่ MS 1.25 MS IBA และ KN
เวลา 20 นาที และฟอกครั้งที่ 2 ใช้ไฮเตอร์ร้อยละ 10 ที่ระดับความเข้มข้นต่าง ๆ แคลลัสจะเจริญเติบโต
เป็นเวลา 10 นาที มีการปลอดเชื้อสูงสุด ร้อยละ 80.5 ซึ่ง ได้ไม่ดี แสดงให้เห็นว่าสารควบคุมการเจริญเติบโต
เป็นวิธีที่มีประสิทธิภาพในการฟอก เนื่องจากไฮเตอร์- มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงของเซลล์พืชเป็นอย่างมาก
มีโซเดียมไฮโปครอไรท์เป็นส่วนประกอบร้อยละ 6 มี ซึ่ง TDZ เป็นสารควบคุมการเจริญเติบโตที่ท�างาน
ราคาถูกสามารถหาซื้อได้โดยทั่วไป ไม่เป็นอันตราย คล้ายกับกลุ่มไซโตไคนิน ในขณะที่ NAA จะอยู่ใน
ต่อเนื้อเยื่อพืชรวมถึงความเข้มข้นของสารที่ใช้ในการ กลุ่มของออกซิน การเกิดแคลลัสโดยทั่วไปแล้วขึ้น
ฟอก ระยะเวลา และชนิดของเนื้อเยื่อพืช มีส่วนส�าคัญ อยู่กับสมดุลของสารควบคุมการเจริญเติบโตของ
ที่ท�าให้การฟอกฆ่าเชื้อประสบความส�าเร็จได้ ไซโตไคนินและออกซิน โดยถ้าออกซินสูงกว่าไซโต-
การศึกษาอาหารสูตรเพาะเลี้ยงแคลลัสจ�านวน ไคนินเซลล์พืชจะพัฒนาไปเป็นราก ถ้าออกซินต�่ากว่า
26 สูตร เป็นระยะเวลา 30, 45 และ 60 วัน สูตรอาหาร ไซโตไคนินจะพัฒนาไปเป็นยอดหรือล�าต้น และถ้า
ในกลุ่มของ TDZ 0.2-0.8 มิลลิกรัมต่อลิตร ร่วมกับ หากออกซินเท่ากับไซโตไคนินจะพัฒนาเป็นแคลลัส
NAA 0.1-0.5 มิลลิกรัมต่อลิตร มีการเกิดแคลลัสได้ ซึ่งอาหารสูตร TDZ 0.4 ร่วมกับ NAA 0.3 มิลลิกรัม
ดี โดยเฉพาะอาหารสูตร TDZ 0.4 ร่วมกับ NAA 0.3 ต่อลิตร ที่น�ามาเลี้ยงปอบิดมีสัดส่วนใกล้เคียงกัน
มิลลิกรัมต่อลิตร เลี้ยงเป็นระยะเวลา 45 วัน แคลลัส อาหารสูตรดังกล่าวจึงสามารถชักน�าเป็นแคลลัสได้
มีการเจริญเติบโตที่ดี มีสีเขียว มีแคลลัสมากและเกาะ ค่อนข้างดี ทั้งนี้การเกิดแคลลัสขึ้นกับชนิดพืช ส่วน
ตัวกันอย่างหนาแน่น มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางของ ต่าง ๆ ที่น�ามาเพาะเลี้ยง และระยะการเจริญเติบโต
แคลลัส น�้าหนักสดมากที่สุด และมีน�้าหนักแห้งค่อน ที่แตกต่างกัน
ข้างดี เป็นสูตรอาหารที่เหมาะสมส�าหรับการเพาะเลี้ยง จากการศึกษาหาปริมาณสาร RA อาหารสูตร
แคลลัส สามารถย้ายลงในอาหารเพื่อเพิ่มปริมาณได้ TDZ 0.4 + NAA 0.3 มีปริมาณสาร RA สูงที่สุด
ในขณะที่การใช้ TDZ เพียงอย่างเดียวก็สามารถเกิด มีค่าเท่ากับร้อยละ 0.3939 โดยน�้าหนักแห้ง เป็น
แคลลัสได้แต่แคลลัสจะมีขนาดเล็กกว่าเมื่อเทียบกับ อาหารสูตรที่เหมาะสมส�าหรับการชักน�าให้เกิดการ
อาหารสูตร TDZ ร่วมกับ NAA สอดคล้องกับการ สร้างสาร RA ได้ดี สูงกว่าฝักปอบิดที่มีตามธรรมชาติ
ศึกษาส่วนตาข้างของมะรุมที่เพาะเลี้ยงบนอาหารสูตร ประมาณ 4.5 เท่า และสูงกว่าฝักปอบิดที่ได้จากการ
MS ที่เติม NAA 0.5 มิลลิกรัมต่อลิตรร่วมกับ TDZ ปลูกประมาณ 31 เท่า ถึงแม้ว่ายอดปอบิดที่น�ามา
0.5 มิลลิกรัมต่อลิตร พบว่ามีอัตราการเกิดแคลลัส ฟอกให้เกิดแคลลัสจะได้มาจากแหล่งเดียวกันกับที่
ร้อยละ 100 มีน�้าหนักแคลลัสสดเฉลี่ยสูงสุด 5.35 ปลูกก็ตาม ซึ่งจากการปลูกปอบิดในแปลงปลูกนั้นจะ
กรัม แคลลัสมีสีขาวและเกาะกันอย่างหลวม ๆ ใน เห็นได้ว่าปอบิดสามารถออกดอกได้ตลอดทั้งปี โดย
[18]