Page 196 - Acrobat J Trad-21-3-2566
P. 196

J Thai Trad Alt Med                                    Vol. 21  No. 3  Sep-Dec  2023  679




            Table 1  Percentage of survival in nodal explants after sterilization using various concentrations of sodium hy-
                   pochlorite at different times duration.

                          Surface sterilization                              Survival (%) in nodal
                          1  st                           2 nd               explants on 2 weeks
                NaOCl (%)    times (min)        NaOCl (%)    times (min)

                   0.9           10               0.9            10                 29.3
                   0.6           15                0.6           10                 25
                   0.6           20                0.6           5                  65.7
                   0.6           20                0.6           10                 80.5
                   0.6           20                0.6           7                  58.1




            2. กำรศึกษำอำหำรสูตรที่เหมำะสมต่อกำร
               ชักน�ำให้เกิดแคลลัส

              จากการศึกษาอาหารสูตรเพาะเลี้ยงแคลลัสจ�านวน
            26 สูตร ที่เติมสารควบคุมการเจริญเติบโตที่แตก
            ต่างกัน พบว่าเมื่อเลี้ยงแคลลัสเป็นระยะเวลา 30 วัน

            อาหารสูตร TDZ 0.4+NAA 0.3, TDZ 0.8+NAA
            0.5, TDZ 1+NAA 0.7 และ TDZ 1.5+NAA 1
            มิลลิกรัมต่อลิตร แคลลัสมีการเจริญเติบโตที่ดีเกิด

            แคลลัสปานกลางและเริ่มเกาะตัวกัน มีสีเขียวและสี  Figure 2  H. isora callus induction at different time on
                                                               MS+TDZ 0.4 + NAA 0.3 ml/g, (1) 30 days,
            เขียวปนเหลือง เมื่อเลี้ยงต่อไปเป็นระยะเวลา 45 วัน   (2) 45 days, and (3) 60 days.
            มีการเกิดแคลลัสมากขึ้นและเกาะตัวอย่างหนาแน่น

            มีสีเขียวและสีเขียวปนเหลือง เมื่อแคลลัสอายุ 60 วัน   ที่เติม KN 1-5 มิลลิกรัมต่อลิตร เกิดแคลลัสขนาด
            จะมีสีน�้าตาลเข้มและหยุดการเจริญเติบโต (Figure   เล็กสีเขียวปนน�้าตาล ที่อายุ 30 วัน และที่อายุ 45 วัน

            2) จึงเลือกใช้แคลลัสที่อายุ 45 วัน ในการศึกษาวิจัย  เกิดแคลลัสขนาดเล็กสีน�้าตาล และเมื่อเลี้ยงต่อเป็น
            หาปริมาณสาร RA ต่อไป ในขณะที่อาหารสูตร MS   ระยะเวลา 60 วัน แคลลัสมีสีน�้าตาลปนด�าและหยุด
            ไม่เกิดแคลลัส ส่วนในอาหารกลุ่มที่เติม IBA ที่ความ  การเจริญเติบโต ส่วนในกลุ่มที่เติม TDZ 0.2-1.5

            เข้มข้น 1-5 มิลลิกรัมต่อลิตร เป็นระยะเวลา 30 และ   เกิดแคลลัสขนาดเล็กมีสีเขียวปนเหลือง และเขียวปน
            45 วัน เกิดแคลลัสขนาดเล็กมีสีน�้าตาลเป็นส่วนใหญ่   น�้าตาลที่อายุ 30 วัน ส่วนอายุ 45 วัน เกิดแคลลัสปาน

            เมื่อเลี้ยงต่อเป็นระยะเวลา 60 วัน แคลลัสมีสีน�้าตาล  กลางและเริ่มเกาะตัวกัน แคลลัสมีสีเขียวปนน�้าตาล
            ปนด�าและหยุดการเจริญเติบโต ส่วนในอาหาร 1.25   เมื่อเลี้ยงต่อเป็นระยะเวลา 60 วัน แคลลัสมีสีน�้าตาล
            MS ร่วมกับ IBA 1-5 มิลลิกรัมต่อลิตร และในกลุ่ม  และหยุดการเจริญเติบโต (Table 2)
   191   192   193   194   195   196   197   198   199   200   201