Page 199 - Acrobat J Trad-21-3-2566
P. 199
682 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 21 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2566
Table 3 Rosmarinic acid content of H. isora from natural sources, cultivated sources, and callus growth on MS
medium supplemented with different concentration of TDZ and NAA for 45 days.
Callus diameter Fresh weight Dry weight Rosmarinic acid
Medium
(cm.) (g) (g) (% dry weight)
TDZ 0.2 + NAA 0.1 1.80 ± 0.581/ 6.08 ± 0.69 0.43 ± 0.11 0.3568 ± 0.0006 b
TDZ 0.4 + NAA 0.3 2.90 ± 0.58 7.56 ± 0.88 0.36 ± 0.01 0.3939 ± 0.0007 a
TDZ 0.8 + NAA 0.5 2.60 ± 0.56 6.57 ± 2.17 0.41 ± 0.18 0.1851 ± 0.0140 c
TDZ 1.0 + NAA 0.7 2.10 ± 0.38 7.38 ± 1.85 0.37 ± 0.04 0.3572 ± 0.0007 b
TDZ 1.5 + NAA 1.0 1.90 ± 0.57 4.46 ± 1.25 0.47 ± 0.21 0.3532 ± 0.0005 b
Natural sources - - - 0.0877 ± 0.0017 d
Cultivated sources - - - 0.0127 ± 0.0004 e
F-test ns ns ns **
1/Values are mean ± SD Means with common superscript within each column are significantly different at p ≤ 0.01
according to Duncan’s multiple range test (DMRT)
เมื่อน�าตัวอย่างที่ได้มาหาปริมาณ RA พบว่า แตกต่างกันอย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติที่ระดับความ
จากการท�ากราฟสารมาตรฐาน (standard curve) เชื่อมั่น 99% กับอาหารสูตร TDZ 1.0 + NAA 0.7
เทียบกับความเข้มข้นของ RA ได้สมการเส้นตรง y TDZ 0.2 + NAA 0.1 TDZ 1.5 + NAA 1.0 และ
= 31570846.95x + 235169 เมื่อ y = พื้นที่ใต้กราฟ TDZ 0.8 + NAA 0.5 ซึ่งมีปริมาณสาร RA เท่ากับ
x = ค่าความเข้มข้น โดยมีค่า R² = 0.9988 จากนั้น ร้อยละ 0.3572, 0.3568, 0.3532 และ 0.1851 โดยน�้า
วิเคราะห์หาปริมาณ RA จากการทดลองพบโครมา- หนักแห้ง ตามล�าดับ เมื่อเปรียบเทียบอาหารสูตรเพาะ
โตแกรมของกราฟมาตรฐานขึ้นที่เวลา (retention เลี้ยงแคลลัสทั้ง 5 สูตร กับฝักปอบิด 2 แหล่ง พบว่า
time) ที่ 7.0 ส่วนโครมาโตแกรมของตัวอย่างขึ้นที่เวลา ปริมาณสาร RA มีค่าแตกต่างกันทางสถิติ โดยฝักปอ
7.0 เช่นเดียวกัน เมื่อเปรียบเทียบ UV spectrum ของ บิดจากแหล่งธรรมชาติที่ได้จากจังหวัดตากและฝักปอ
สารมาตรฐาน RA กับ peak ที่พบในตัวอย่าง พบว่า บิดจากแหล่งปลูกในจังหวัดนนทบุรี มีปริมาณสาร
มี spectrum ที่คล้ายกัน (Figure 4) เมื่อน�าตัวอย่าง RA เท่ากับร้อยละ 0.0877 และ 0.0127 โดยน�้าหนัก
จากแคลลัสในอาหารสูตรต่าง ๆ ฝักปอบิดที่ปลูกใน แห้งตามล�าดับ เมื่อคิดสัดส่วนของปริมาณสาร RA ที่
จังหวัดนนทบุรี และฝักปอบิดที่เก็บมาจากธรรมชาติ ได้จากแคลลัสจะมีมากกว่าแหล่งที่เก็บจากธรรมชาติ
จากจังหวัดตาก มาวิเคราะห์หาปริมาณ RA พบว่า ประมาณ 4.5 เท่า และจากแหล่งเพาะปลูกประมาณ
อาหารสูตร TDZ 0.4 + NAA 0.3 มีปริมาณสาร RA 31 เท่า
สูงที่สุด มีค่าเท่ากับร้อยละ 0.3939 โดยน�้าหนักแห้ง