Page 194 - Acrobat J Trad-21-3-2566
P. 194

J Thai Trad Alt Med                                    Vol. 21  No. 3  Sep-Dec  2023  677




            ด้วยหลอดไฟฟลูออเรสเซนต์ 16 ชั่วโมงต่อวัน ความ  หลอดฟลูออเรสเซนต์ ตั้งเวลาการให้แสงเท่ากับ 16
            เข้มแสง 3,000 ลักซ์ ที่อุณหภูมิ 25 ± 2˚ซ เป็นระยะ  ชั่วโมงต่อวัน ด้วยเครื่องตั้งเวลาเปิด-ปิดอัตโนมัติ

            เวลา 2 เดือน                                (Timer) วางแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ (Com-
                   1. ฟอกด้วยไฮเตอร์  ที่ความเข้มข้น    pletely Randomized block Design : CRD) ท�าการ
                                     ®
            ร้อยละ 15 นาน 10 นาที และไฮเตอร์  ร้อยละ 15   ทดลอง 15 ซ�้า แต่ละซ�้ามี 1 ชิ้น (1 ชิ้นต่อขวด) เพาะ
                                          ®
            นาน 10 นาที (T1)                            เลี้ยงเนื้อเยื่อเป็นเวลา 2 เดือน ท�าการบันทึกผลการ

                   2. ฟอกด้วยไฮเตอร์  ที่ความเข้มข้น    เกิดแคลลัส สีของแคลลัส ในสูตรอาหารที่แตกต่างกัน
                                     ®
            ร้อยละ 10 นาน 15 นาที และไฮเตอร์  ร้อยละ 10      2.4  การศึกษาการเจริญเติบโตของแคลลัสใน
                                          ®
            นาน 10 นาที (T2)                            อาหารสูตรที่เหมาะสม
                   3. ฟอกด้วยไฮเตอร์  ที่ความเข้มข้น            ท�าการคัดเลือกอาหารสูตรที่เหมาะสม
                                     ®
            ร้อยละ 10 นาน 20 นาที และไฮเตอร์  ร้อยละ 10   ส�าหรับการชักน�าแคลลัส โดยดูจากขนาดของแคลลัส
                                          ®
            นาน 5 นาที (T3)                             ตั้งแต่เกิดแคลลัสปานกลางและเริ่มเกาะตัวกัน

                   4. ฟอกด้วยไฮเตอร์  ที่ความเข้มข้น    (คะแนน ++) และเกิดแคลลัสมากและเกาะตัวอย่าง
                                     ®
            ร้อยละ 10 นาน 20 นาที และไฮเตอร์  ร้อยละ 10   หนาแน่น (คะแนน +++) เลือกแคลลัสที่เกิดสีเขียว
                                          ®
            นาน 10 นาที (T4)                            หรือสีเขียวปนเหลือง เพื่อน�ามา subculture ลง
                   5. ฟอกด้วยไฮเตอร์  ที่ความเข้มข้น    บนอาหารสูตรเดิมอีกครั้ง เลี้ยงในห้องปลอดเชื้อที่
                                     ®
            ร้อยละ 10 นาน 20 นาที และไฮเตอร์  ร้อยละ 10   ควบคุมสภาพแวดล้อม โดยมีอุณหภูมิ 25± 2˚ซ
                                          ®
            นาน 7 นาที (T5)                             ความเข้มแสง 3,000 ลักซ์ จากหลอดฟลูออเรสเซนต์

                 2.3  การศึกษาสูตรอาหารที่เหมาะสมต่อการ  ตั้งเวลาการให้แสงเท่ากับ 16 ชั่วโมงต่อวัน วางแผนการ
            ชักน�าให้เกิดแคลลัส                         ทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ (Completely Randomized

                   ศึกษาสูตรอาหารที่เหมาะสมต่อการชักน�าให้  block Design : CRD) ท�าการทดลอง 15 ซ�้า แต่ละซ�้า
            เกิดแคลลัส โดยน�าเนื้อเยื่อส่วนยอดที่ปลอดเชื้อมา   มี 4 ชิ้น (4 ชิ้นต่อขวด) เพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อเป็นเวลา 45

            subculture น�ามาทดลองเพาะเลี้ยงในอาหาร MS ที่  วัน บันทึกน�้าหนักสดและน�้าหนักแห้งต่อขวด
            เติมสารควบคุมการเจริญเติบโตสูตรชักน�าแคลลัสที่     2.5  การศึกษาสาร rosmarinic acid ของ

            ระดับความเข้มข้นต่าง ๆ ได้แก่ อาหารสูตร IBA 1-5   ปอบิดด้วย High Performance Liquid Chroma-
            มิลลิกรัมต่อลิตร (mg/l) 1.25MS+IBA 1-5 mg/l   tography (HPLC)

            KN 1-5 mg/l TDZ 0.2-1.5 mg/l และ TDZ 0.2-1.5         2.5.1 การเตรียมตัวอย่างพืชส�าหรับการ
            mg/l ร่วมกับ NAA 0.1-1 mg/l รวมจ�านวน 26 สูตร   ตรวจวิเคราะห์

            เลี้ยงในห้องปลอดเชื้อที่ควบคุมสภาพแวดล้อม โดย        ฝักปอบิด – น�าฝักปอบิดจากจังหวัดตาก
            มีอุณหภูมิ 25 ± 2˚ซ ความเข้มแสง 3,000 ลักซ์ จาก  (แหล่งธรรมชาติ) จ�านวน 3 ตัวอย่าง และฝักปอบิด
   189   190   191   192   193   194   195   196   197   198   199