Page 60 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 21 ฉบับที่ 2
P. 60
276 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 21 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2566
บรรจบและกลุ่มที่ได้รับยาไซเมทิโคนไม่มีอาการไม่ ไซเมทิโคน 1.25 คะแนน (95%CI: -0.24, 2.74)
พึงประสงค์ของยา ส่วนผลข้างเคียงจากการใช้ยา ทั้งนี้เป็นเพราะว่า ผู้เข้าร่วมวิจัยได้มีการปฏิบัติตาม
กลุ่มที่ได้รับยาธาตุบรรจบและกลุ่มที่ได้รับยาไซเม- แผนการรักษาในขณะด�าเนินการศึกษา โดยก�าหนดให้
ทิโคนมากที่สุดคือ หิวบ่อย ร้อยละ 22.5 และ 10.0 ผู้เข้าร่วมวิจัยได้รับยาธาตุบรรจบ ชนิดแคปซูล บรรจุ
ตามล�าดับ เนื่องจากยาธาตุบรรจบและยาไซเมทิโคน 1,000 มิลลิกรัม รับประทานครั้งละ 1 แคปซูล ก่อน
เป็นยารักษาอาการท้องอืด ท้องเฟ้อ จากแก๊สที่เกิด อาหาร 3 เวลา เช้า-กลางวัน-เย็น และกลุ่มยาไซเมทิโคน
ขึ้นในกระเพาะอาหารและล�าไส้ จึงส่งผลข้างเคียงให้ ชนิดแคปซูล บรรจุ 80 มิลลิกรัม รับประทานครั้งละ 1
กระเพาะอาหารหลั่งน�้าย่อยเพิ่มมากขึ้น เกิดอาการหิว แคปซูล ก่อนอาหาร 3 เวลา เช้า-กลางวัน-เย็น เป็นเวลา
[4]
บ่อยที่มาจากการรับประทานยา อย่างไรก็ดี ผลการ 7 วัน อย่างเคร่งครัด ประกอบกับสรรพคุณทางยาที่มี
ศึกษาข้างต้นไม่สอดคล้องกับการทดลองแบบสุ่มกับ ประสิทธิผล จึงส่งผลให้คุณภาพชีวิตของผู้ป่วยดีขึ้น
กลุ่มควบคุม ด้วยยาหลอกของยาไซเมทิโคนส�าหรับ จริง อย่างไรก็ตาม ผลการศึกษาข้างต้นไม่สอดคล้อง
การรักษาผู้ป่วยที่มีอาการอาหารไม่ย่อยจากการท�างาน กับการศึกษาประสิทธิผลและความปลอดภัยของยา
จ�านวน 184 ราย จากการศึกษานี้พบว่ากลุ่มผู้ป่วยที่ได้ มธุรเมหะ (สูตรอาจารย์นิรันดร์ พงศ์สร้อยเพ็ชร และ
รับยาไซเมทิโคน มีอาการโดยรวมดีขึ้นรวดเร็วอย่าง มูลนิธิฟื้นฟูการแพทย์ไทยเดิมในพระราชูปถัมภ์ฯ) ใน
มีนัยส�าคัญ โดยที่ไม่พบอาการข้างเคียงใด ๆ จาก การรักษาผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 โดยพบว่า คุณภาพ
[12]
การใช้ยาไซเมทิโคน อีกทั้งยังไม่สอดคล้องกับการ ชีวิตหลังจากผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ที่ได้รับยามธุรเมหะฯ
พัฒนาแนวทางการส่งเสริมการใช้ยาสมุนไพรตาม จ�านวน 196 คน มีค่าเฉลี่ยคะแนนคุณภาพชีวิตโดยรวม
บัญชียาหลักแห่งชาติในโรงพยาบาลชุมชน จังหวัด หลังได้รับยาเท่ากับ 85.88 ± 8.34 คือแสดงถึงการมี
มหาสารคาม โดยผลของการศึกษาประสิทธิผลและ คุณภาพชีวิตกลาง ๆ ซึ่งไม่มีความแตกต่างกันของระดับ
อาการไม่พึงประสงค์ของยาสมุนไพรธาตุบรรจบใน คะแนนในแต่ละกลุ่มอย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติ
[16]
ผู้ป่วย 38 ราย พบว่า มีผู้ป่วยเกิดอาการไม่พึงประสงค์ ทั้งนี้อาจเป็นเพราะว่า จากผลการศึกษานี้พบว่ายา
หลังจากรับประทานยาธาตุบรรจบ จ�านวน 2 ราย คิด สมุนไพรต�ารับมธุรเมหะ สามารถลดระดับน�้าตาลใน
เป็นร้อยละ 5.26 โดยผู้ป่วยทั้งสองรายมีอาการคล้าย เลือดลงได้ แม้จะมีคุณภาพชีวิตระดับปานกลางก็ตาม
กัน คือ ผายลมบ่อย [15] อาจมาจากหลายสาเหตุ เช่น ปริมาณยามธุรเมหะ
คุณภาพชีวิตระหว่างก่อนและหลังการรับ ที่ผู้ป่วยได้รับระดับน�้าตาลของผู้ป่วยเป็นส�าคัญ อีก
ประทานยาของยาธาตุบรรจบและยาไซเมทิโคน เหตุผลหนึ่งน่าจะเกี่ยวกับยาต�ารับมธุรเมหะ เนื่องจาก
กลุ่มที่ได้รับยาธาตุบรรจบมีค่าผลของคะแนน เป็นยาต�ารับที่ประกอบด้วยสมุนไพรทั้งหมด 26 ชนิด
คุณภาพชีวิตโดยรวมระหว่างก่อนและหลังรับประทาน มีเพียง 13 ชนิดเท่านั้นที่มีผลการศึกษาระบุว่ามีผลลด
ยา ที่แสดงถึงการมีคุณภาพชีวิตอยู่ในเกณฑ์ดี และไม่ ระดับน�้าตาลในเลือดได้ ที่เหลือน่าจะมีเพื่อปรับสมดุล
น้อยไปกว่ากลุ่มที่ได้รับยาไซเมทิโคน โดยมีค่าเฉลี่ย ของธาตุในร่างกาย ท�าให้ปริมาณยาที่รับประทานจะ
9.82 ± 3.38 คะแนน และ 8.57 ± 3.30 คะแนน ตาม มากกว่าปกติ ส่งผลให้ภาวะที่ผู้ป่วยรับรู้ต่อคุณภาพ
ล�าดับ ผลต่างระหว่างกลุ่มที่ได้รับยาธาตุบรรจบและยา ชีวิตอยู่ในระดับปานกลาง