Page 59 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 21 ฉบับที่ 2
P. 59
J Thai Trad Alt Med Vol. 21 No. 2 May-Aug 2023 275
เล็กที่เคลือบอยู่บนผิวทางเดินอาหาร ท�าให้ผู้ป่วยเรอ กลุ่มมีสรรพคุณทางยาเพื่อช่วยขับลม บรรเทาอาการ
[10]
ขับลม หรือผายลมได้สะดวกขึ้น ซึ่งสอดคล้อง ท้องอืด ท้องเฟ้อ ได้ใกล้เคียงกัน แม้ว่ายาธาตุบรรจบ
กับการศึกษาประสิทธิผลของ simethicone ใน จะมีสรรพคุณที่รักษาอาการร่วมอื่น อาทิ แก้ธาตุไม่
การเตรียมก่อนการส่องกล้องทางเดินอาหารส่วนบน ปกติ ท้องขึ้น ท้องเฟ้อ ท้องเสีย และล�าไส้แปรปรวน
โดยเลือกใช้ยาไซเมทิโคนชนิดเม็ดเคี้ยวขนาด 40 ซึ่งมีส่วนประกอบจากสมุนไพรหลายชนิด เช่น ขิง โกฐ
มิลลิกรัม แล้วดื่มน�้าตาม 30 มิลลิลิตรก่อนส่องกล้อง เชียง โกฐก้านพร้าว โกฐสอ เทียนด�า เทียนสัตตบุษย์
[13]
EGD ในผู้ป่วย 173 ราย พบว่าการรับประทานไซเม- สมอไทย และตัวยาอื่น ๆ ขณะที่ยาไซเมทิโคนมี
ทิโคนชนิดเม็ด 40 มิลลิกรัม สามารถช่วยลดปริมาณ สรรพคุณในการรักษา เป็นยาขับลม (antiflatulent)
[11]
ฟองแก๊สในกระเพาะอาหารได้อย่างมีนัยส�าคัญ ที่ช่วยบรรเทาอาการจุกเสียด ท้องอืด แน่นท้อง ปวด
อีกทั้งยังสอดคล้องกับการทดลองแบบสุ่มกับกลุ่ม ท้อง เนื่องจากแก๊สส่วนเกินในระบบทางเดินอาหาร
ควบคุมด้วยยาหลอกของยาไซเมทิโคน ส�าหรับการ โดยจะเข้าไปช่วยลดแรงตึงผิวของฟองแก๊สขนาดเล็ก
รักษาผู้ป่วยที่มีอาการอาหารไม่ย่อยจากการท�างาน ให้แตกตัวและรวมกันเป็นฟองใหญ่เพื่อก�าจัดออก
โดยพบว่า ยากลุ่มไซเมทิโคนมีกลไกออกฤทธิ์ที่ช่วย ได้ง่าย ดังนั้น ยาธาตุบรรจบกับยาไซเมทิโคนจึงมี
[9]
ลดแรงตึงผิวของลมในทางเดินอาหาร การศึกษานี้ ประสิทธิผลของยาที่สามารถรักษาผู้ป่วยที่มีอาการ
แสดงให้เห็นถึงประสิทธิผลของไซเมทิโคน ในการ ท้องอืดไม่ทราบสาเหตุได้ ไม่น้อยกว่ากัน ผลการ
[12]
ลดอาการโรคกระเพาะอาหารแปรปรวน จากข้อมูล ศึกษาข้างต้นสอดคล้องกับการศึกษาประสิทธิผลและ
ข้างต้นยืนยันว่าไซเมทิโคนเป็นยาที่ช่วยให้อาการโดย ความปลอดภัยของยาธาตุอบเชยในการรักษาผู้ป่วย
รวมของผู้ป่วยดีขึ้นได้อย่างมีนัยส�าคัญ จึงสามารถ functional dyspepsia การศึกษานี้เปรียบเทียบ
พิจารณาเลือกใช้ยา simethicone เป็นอีกทางเลือก ยาธาตุอบเชยกับยา simethicone โดยใช้รูปแบบ
หนึ่งที่มีประโยชน์ส�าหรับการรักษาผู้ป่วยที่มีอาการ randomized controlled study ในผู้ป่วย func-
ท้องอืดไม่ทราบสาเหตุได้ tional dyspepsia แบ่งเป็น 2 กลุ่ม โดยทั้ง 2 กลุ่ม
การเปรียบเทียบผลการใช้ยาธาตุบรรจบกับยา ใช้ยาติดต่อกันนาน 14 วัน ประเมินผลการรักษาภาย
ไซเมทิโคนในการรักษาผู้ป่วยที่มีอาการท้องอืดไม่ หลังการรักษาหลัง 7 วัน และ 14 วัน ผลการศึกษาพบ
ทราบสาเหตุ ว่า ผลการรักษาของยาทั้งสองชนิดไม่แตกต่างกันอย่าง
ผลการเปรียบเทียบค่าผลต่างระหว่างก่อนและ มีนัยส�าคัญ สรุปได้ว่า การรับประทานยาธาตุอบเชย
หลังรับประทานยา กลุ่มที่ได้รับยาธาตุบรรจบมีค่า ติดต่อกัน 14 วัน มีประสิทธิผลและความปลอดภัยใน
ผลของคะแนน severity of dyspepsia assess- การรักษาผู้ป่วย functional dyspepsia ที่ไม่แตกต่าง
ment ระหว่างก่อนและหลังรับประทานยาไม่น้อยไป จากการรักษาด้วยยา simethicone
[14]
กว่ากลุ่มที่ได้รับยาไซเมทิโคน โดยมีค่าเฉลี่ย -5.32 ± อาการไม่พึงประสงค์และผลข้างเคียงของ
3.63 คะแนน และ -7.82 ± 2.89 คะแนน ตามล�าดับ ยาธาตุบรรจบและยาไซเมทิโคน
ผลต่างระหว่างกลุ่มที่ได้รับยาธาตุบรรจบและยาไซ- อาการไม่พึงประสงค์และผลข้างเคียงจาก
เมทิโคน 2.50 คะแนน ทั้งนี้เป็นเพราะว่า ยาทั้งสอง การใช้ยา ผลการศึกษาพบว่า ทั้งกลุ่มที่ได้รับยาธาตุ