Page 56 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 21 ฉบับที่ 2
P. 56
272 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 21 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2566
3. ผลก�รใช้ย�ไซเมทิโคน ในก�รรักษ�ผู้ป่วย 4. ก�รเปรียบเทียบผลก�รใช้ย�ธ�ตุบรรจบกับ
ที่มีอ�ก�รท้องอืดไม่ทร�บส�เหตุ ก่อนและ ย�ไซเมทิโคนในก�รรักษ�ผู้ป่วยที่มีอ�ก�ร
หลังรับประท�น ท้องอืดไม่ทร�บส�เหตุ
กลุ่มที่ได้รับยาไซเมทิโคนมีคะแนน severity ผลการเปรียบเทียบค่าผลต่างระหว่างก่อนและ
of dyspepsia assessment ระหว่างก่อนและหลัง หลังรับประทานยา กลุ่มที่ได้รับยาธาตุบรรจบมีค่าผล
การรับประทานยาแตกต่างกันอย่างมีนัยส�าคัญทาง ของคะแนน severity of dyspepsia assessment
สถิติ (p-value < 0.001) โดยหลังการรับประทานยา ระหว่างก่อนและหลังรับประทานยาไม่น้อยไปกว่า
สามารถลดอาการท้องอืดโดยมีคะแนน severity of กลุ่มที่ได้รับยาไซเมทิโคน โดยมีค่าเฉลี่ย -5.32 ± 3.63
dyspepsia assessment ลดลงเฉลี่ย 7.38 คะแนน คะแนน และ -7.82 ± 2.89 คะแนน ตามล�าดับ ผลต่าง
(95%CI: -8.75, -6.90) (Figure 1) ระหว่างกลุ่มที่ได้รับยาธาตุบรรจบและยาไซเมทิโคน
2.50 คะแนน (Figure 2)
Figure 2 The difference between before and after the experiment
5. อ�ก�รไม่พึงประสงค์และผลข้�งเคียงของ พึงประสงค์ของยา ส่วนผลข้างเคียงจากการใช้ยา
ย�ธ�ตุบรรจบและย�ไซเมทิโคน กลุ่มที่ได้รับยาธาตุบรรจบและกลุ่มที่ได้รับยาไซเมทิ-
อาการไม่พึงประสงค์และผลข้างเคียงจาก โคนมากที่สุดคือ หิวบ่อย จ�านวน 9 คน (ร้อยละ 22.5)
การใช้ยา ผลการศึกษาพบว่า ทั้งกลุ่มที่ได้รับยาธาตุ และ จ�านวน 4 คน (10.0) ตามล�าดับ (Figure 3)
บรรจบและกลุ่มที่ได้รับยาไซเมทิโคนไม่มีอาการไม่