Page 58 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 21 ฉบับที่ 2
P. 58

274 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก      ปีที่ 21  ฉบับที่ 2  พฤษภาคม-สิงหาคม 2566




                         อภิปร�ยผล                     ประทานยา และหลังรับประทานยา 3 วัน และ 7 วัน
                การเปรียบเทียบผลการใช้ยาธาตุบรรจบ ใน   ตามล�าดับ พบว่า คะแนนความพึงพอใจต่ออาการท้อง

           การรักษาผู้ป่วยที่มีอาการท้องอืดไม่ทราบสาเหตุ ก่อน  อืด มีความแตกต่างอย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติที่ระดับ
           และหลังรับประทาน                            0.05 การประเมินความพึงพอใจต่ออาการท้องอืดแน่น
                กลุ่มที่ได้รับยาธาตุบรรจบ มีคะแนน severity   ท้อง (dyspepsia) จ�าแนกตามอาการก่อนรับประทาน

           of dyspepsia assessment ระหว่างก่อนและหลัง  ยา และหลังรับประทานยา 3 วันและ 7 วันตามล�าดับ
                                                                                             [8]
           การรับประทานยาแตกต่างกันอย่างมีนัยส�าคัญทาง  พบว่า 85.89% ของผู้ป่วยรายงานว่าอาการดีขึ้น
           สถิติ (p-value < 0.001) โดยมีค่าเฉลี่ย 35.98 ± 4.72   จากข้อมูลข้างต้นอนุมานได้ว่า กลุ่มยาสมุนไพรที่มี
           คะแนน และ 30.65 ± 2.30 คะแนน ตามล�าดับ และ  สรรพคุณในการรักษากลุ่มอาการทางระบบทางเดิน
           หลังการรับประทานยาสามารถลดอาการท้องอืดโดย   อาหาร และกลุ่มยาขับลม เป็นยาที่ช่วยให้อาการโดย

           มีคะแนน severity of dyspepsia assessment ลด  รวมของผู้ป่วยดีขึ้นได้อย่างมีนัยส�าคัญ จึงสามารถ
           ลงเฉลี่ย 5.33 คะแนน (95%CI: -6.49, -4.17) แสดง  พิจารณาเลือกใช้กลุ่มยาสมุนไพร เป็นอีกทางเลือก

           ให้เห็นว่า การให้ยาขับลมในกลุ่มยาธาตุบรรจบ ซึ่ง  หนึ่งที่มีประโยชน์ส�าหรับการรักษาผู้ป่วยที่มีอาการ
           จัดเป็นกลุ่มยาสมุนไพรตามบัญชียาหลักแห่งชาติ   ท้องอืดไม่ทราบสาเหตุได้
           ช่วยรักษากลุ่มอาการทางระบบทางเดินอาหาร และ      การเปรียบเทียบผลการใช้ยาไซเมทิโคน ใน

           กลุ่มยาขับลมได้ดีขึ้น เนื่องจากมีส่วนประกอบของ  การรักษาผู้ป่วยที่มีอาการท้องอืดไม่ทราบสาเหตุ ก่อน
           สมุนไพร อาทิ ลูกสมอไทย เหง้าขิง โกฐเขมา โกฐ  และหลังรับประทาน
           พุงปลา โกฐเชียง โกฐสอ เทียนด�า เทียนขาว เทียน     กลุ่มที่ได้รับยาไซเมทิโคน มีคะแนน severity

           สัตตบุษย์ เทียนเยาวพาณี เทียนแดง ลูกจันทน์ ดอก  of dyspepsia assessment ระหว่างก่อนและหลัง
           จันทน์ ดอกกานพลู เปลือกสมุลแว้ง ลูกกระวาน ลูก  การรับประทานยาแตกต่างกันอย่างมีนัยส�าคัญทาง
           ผักชีลา ใบพิมเสนต้น ดอกดีปลี หัวเปราะหอม และ  สถิติ (p-value < 0.001) โดยมีค่าเฉลี่ย 36.98 ± 3.71

           การบูร ที่มีฤทธิ์ต้านเชื้อแบคทีเรียก่อโรคทางเดิน  คะแนน และ 29.15 ± 1.75 คะแนน ตามล�าดับ และ
           อาหาร จึงมีสรรพคุณ ในการบรรเทาอาการท้องอืด   หลังการรับประทานยาสามารถลดอาการท้องอืดโดย

           ท้องเฟ้อ รวมถึงบรรเทาอาการอุจจาระธาตุพิการ ท้อง  มีคะแนน severity of dyspepsia assessment ลด
           เสียชนิดที่ไม่เกิดจากการติดเชื้อ เช่น อุจจาระไม่เป็น  ลงเฉลี่ย 7.38 คะแนน (95%CI: -8.75, -6.90) แสดง
                                           [6]
           มูกหรือมีเลือดปน ท้องเสียชนิดที่ไม่มีไข้  ผลการ  ให้เห็นว่า การให้ยาขับลมในกลุ่ม simethicone ช่วย
           ศึกษามีความสอดคล้องกับการศึกษาประสิทธิผล    ลดอาการอืดแน่นท้อง โดยเปลี่ยนความตึงผิวของฟอง
           และความปลอดภัยของต�ารับยาเบญจกูลในผู้ป่วยที่  อากาศหรือแก๊สในกระเพาะล�าไส้ ท�าให้ฟองอากาศ

           มีอาการท้องอืดแน่นท้องของโรงพยาบาลการแพทย์  ที่รวมตัวกันแตกได้ และป้องกันไม่ให้เยื่อเมือกเกาะ
                                                         [9]
           แผนไทยและการแพทย์ผสมผสานสาขาศูนย์ราชการ     หุ้ม  โดยกลไกหลักในการออกฤทธิ์ของไซเมทิโคนนี้
           แจ้งวัฒนะฯ การศึกษาพบว่า การประเมินอาการท้อง  สามารถช่วยลดแรงตึงผิวของฟองแก๊สที่เกิดขึ้น (de-

           อืดแน่นท้อง (dyspepsia) จ�าแนกตามอาการ ก่อนรับ  creases surface tension) ไปช่วยให้ฟองแก๊สขนาด
   53   54   55   56   57   58   59   60   61   62   63