Page 186 - J Trad Med 21-1-2566
P. 186
166 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 21 ฉบับที่ 1 มกราคม-เมษายน 2566
ไวรัสภายในร่างกาย ลักษณะเด่นของการก่อโรคของ ระบบทางเดินปัสสาวะ และระบบทางเดินอาหาร ผู้ป่วย
เชื้อ SARS-CoV-2 คือการกระตุ้นให้ภายในร่างกาย สามารถมีอาการของกลุ่มอาการลองโควิดได้มากกว่า 1
[19]
เกิดภาวะ cytokine storm โดย cytokine storm อาการหลังจากได้รับการรักษาจนหายจากโควิด-19
เป็นภาวะที่ระดับ cytokine ในเลือดเพิ่มสูงขึ้นมากส่ง จากการศึกษาพบว่า ร้อยละ 44 ของกลุ่มผู้ป่วยมีระดับ
ผลต่อการเกิดกระบวนการอักเสบทั้งแบบเฉียบพลัน คุณภาพชีวิตแย่ลงจากผลกระทบของกลุ่มอาการลอง
[15]
และเรื้อรัง ระดับของ cytokine ของผู้ป่วยจะอยู่ โควิด โดยอาการที่พบมากสุดคือ อ่อนล้า (ร้อยละ 53)
ในระดับสูงในช่วง 3 เดือนหลังจากที่ผู้ป่วยได้รับเชื้อ อาการเกี่ยวกับระบบทางเดินหายใจ (ร้อยละ 43) ปวด
โควิด-19 จากการศึกษาพบว่า ระดับของ IL-4, IL-6, ข้อ (ร้อยละ 37) และเจ็บหน้าอก (ร้อยละ 21) ตาม
IL-10, และ C-reactive protein ของผู้ป่วยจะมีค่า ล�าดับ มีการสันนิษฐานว่าอาการอ่อนล้าจากการติด
[20]
สูงขึ้นหลังจากติดเชื้อ SARS-CoV-2 ตรงข้ามกับ เชื้อ SARS-CoV-2 มีสาเหตุมาจากภาวะ cytokine
ระดับของ lymphocytes และเกล็ดเลือดแดงที่ลด storm ที่เกิดขึ้นหลังจากติดเชื้อ SARS-CoV-2 ซึ่ง
ลง ซึ่งส่งผลให้ร่างกายของผู้ป่วยมีโอกาสเสี่ยงต่อการ การเพิ่มขึ้นของระดับ Cytokine ในกระแสเลือดนั้น
เกิดการอักเสบของอวัยวะต่าง ๆ ภายในร่างกาย [16-17] ส่งผลกระทบต่อระบบการท�างานต่าง ๆ ของร่างกาย
ภาวะ cytokine storm ยังส่งผลให้เกิดการกระตุ้ โดยผ่านการกระตุ้นระบบภูมิคุ้มกันและกระบวนการ
[21]
นระบบภูมิคุ้มกันที่มากเกินไปก่อให้เกิดภัยอันตราย อักเสบ ผลกระทบดังกล่าวยังส่งผลโดยตรงต่อ
ต่ออวัยวะภายในของผู้ป่วย กลุ่มอาการลองโควิด ระบบทางเดินหายใจ โดยร้อยละ 43 ของผู้ป่วย
มิได้เกิดขึ้นจากพยาธิวิทยาของตัวโรคเท่านั้น แต่ ทั้งหมดมีอาการหายใจล�าบากภายหลังที่หายจากโรค
กลุ่มอาการลองโควิดสามารถเกิดขึ้นผ่านกระบวนการ โควิด-19 ซึ่งเป็นผลมาจากพยาธิสภาพของอวัยวะ
การรักษาโควิด-19 ทั้งจากผลข้างเคียงของยาบางชนิด ภายในระบบทางเดินหายใจที่เปลี่ยนแปลงหลังจากได้
[22]
ผลข้างเคียงของการพักรักษาตัวในโรงพยาบาลเป็น รับผลกระทบจากการติดเชื้อ SARS-CoV-2 ระบบ
เวลานานรวมถึงปัจจัยทางด้านจิตใจและสังคมล้วน หลอดเลือดและหัวใจเป็นอีกหนึ่งระบบที่ได้รับผลกระ
[18]
ส่งผลกระทบต่อการเกิดกลุ่มอาการลองโควิด ผล ทบจากภาวะดังกล่าว การเพิ่มขึ้นของระดับ cytokine
กระทบดังกล่าวมิได้ส่งผลกระทบต่อสุขภาพในมิติ และ โปรตีน troponin ในกระแสเลือดส่งผลให้เกิด
ทางร่างกายเท่านั้น แต่ยังส่งผลกระทบต่อสุขภาพใน ภาวะกล้ามเนื้อหัวใจอักเสบและหลอดเลือดหัวใจตีบ
มิติทางจิตใจและสังคมของผู้ป่วย ผู้ป่วยร้อยละ 21 จึงมีอาการเจ็บหน้าอกภายหลังหาย
กลุ่มอาการลองโควิดประกอบด้วยอาการเจ็บ ป่วยจากโรคโควิด-19 ซึ่งเป็นอาการแสดงของภาวะ
ป่วยที่หลากหลายซึ่งขึ้นอยู่กับความรุนแรงของตัว กล้ามเนื้อหัวใจอักเสบและหลอดเลือดหัวใจตีบ [23]
โรค ลักษณะของผู้ป่วย และช่วงระยะเวลาที่ผู้ป่วยได้ จากผลการศึกษาข้อมูลทางคลินิกของผู้ป่วยโควิด-
รับการรักษาโควิด-19 กลุ่มอาการลองโควิดส่งผลกระ 19 พบว่า ร้อยละ 37 ของผู้ป่วยมีอาการปวดข้อภาย
ทบอย่างกว้างขวางต่อระบบต่าง ๆ ของร่างกาย ได้แก่ หลังจากการติดเชื้อโควิด-19 ผู้ป่วยมีระดับตัวชี้ระดับ
ระบบทางเดินหายใจ ระบบกล้ามเนื้อและโครงสร้าง การอักเสบในเลือดสูงขึ้น ได้แก่ IL-6, C-reactive
ระบบหัวใจและหลอดเลือด ระบบประสาทและสมอง protein (CRP), และ Erythrocyte Sedimenta-