Page 184 - J Trad Med 21-1-2566
P. 184
164 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 21 ฉบับที่ 1 มกราคม-เมษายน 2566
The Opportunity for Massage Therapy Development for Relieving
Long COVID Symptoms: A Literature Review
Kitiya Yangthaworn , Nunthiya Srikaew , Kitrawee Jiraratsatit ‡,§
*
†
* Faculty of Allied Health Sciences, Burapha University, Chonburi 20131, Thailand
† Chulabhorn International College of Medicine, Thammasat University, Patumthani 12120, Thailand
‡ Faculty of Public Health, Thammasat University, Patumthani 12120, Thailand
Corresponding author: kitrawee.j@fph.tu.ac.th
§
Abstract
The COVID-19 pandemic has affected population health and lifestyle not only for a short period but also
a long period. Long COVID is a long-term condition after recovering from COVID illness; its symptoms greatly
affect the quality of life of patients. Massage is a unique treatment form of alternative medicine that can promote
health in various dimensions. Studies have shown that massage therapy has the potential for anti-inflammation,
immune system enhancement, and hormone level balancing; and such symptoms could be reduced in long COVID
patients. Therefore, the efficacy and safety of massage in long COVID patients should be studied whether massage
has the potential to reduce the severity of long COVID symptoms or not. It is an essential approach to increasing
the value of massage and developing health services in the future.
Key words: COVID-19 pandemic, long COVID symptoms, massage
บทนำ�และวัตถุประสงค์ โควิด-19 ในระยะยาว (ลองโควิด; Long COVID)
สถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19 เป็น จากสถิติพบว่า ผู้ป่วยโควิด-19 มากกว่าร้อยละ 75
ปัญหาสาธารณสุขที่ส�าคัญของโลก โควิด-19 ส่งผล จะมีอาการแสดงของกลุ่มอาการลองโควิดอย่างน้อย
กระทบอย่างมากทั้งต่อวิถีการด�าเนินชีวิตและสุขภาพของ 1 อาการหลังจากที่หายจากโรค กลุ่มอาการลองโค
[5]
ประชาชนทั่วโลก โควิด-19 มิได้ส่งผลกระทบต่อสุขภาพ วิดจึงส่งผลกระทบอย่างมากต่อสุขภาพและคุณภาพ
[1]
[6]
ทางด้านร่างกายเพียงมิติเดียว แต่ยังส่งผลกระทบต่อ ชีวิตของผู้ป่วยโควิด-19 การยกระดับสุขภาพและหา
สุขภาพในมิติของจิตใจและสังคมของประชาชน แนวทางที่เหมาะสมต่อกลุ่มอาการลองโควิดจึงเปรียบ
[2-3]
แม้ว่าในปัจจุบัน กระบวนการป้องกันและรักษา เสมือนความท้าทายที่ส�าคัญของระบบสุขภาพ
โควิด-19 ได้มีการพัฒนาให้มีความครอบคลุมต่อ นิยามของการมีสุขภาพดีมิได้ถูกก�าหนดเพียง
กลุ่มอาการที่เกิดขึ้นภายใต้การติดเชื้อโควิด-19 มาก การมีสุขภาพด้านร่างกายเท่านั้น สุขภาพดีคือความ
ขึ้น กระนั้น ผู้ป่วยบางรายที่ได้รับการรักษาและหาย สมบูรณ์ของสุขภาพในมิติต่าง ๆ อันได้แก่ ร่างกาย
[4]
[7]
จากโรคโควิด-19 ยังคงมีอาการไม่สบายหลงเหลือ จิตใจ และสังคม หรือการมีสุขภาพดีแบบองค์รวม
อยู่ อาการดังกล่าวคืออาการที่หลงเหลือหลังติดเชื้อ การดูแลสุขภาพแบบองค์รวมจึงเป็นแนวทางที่