Page 189 - J Trad Med 21-1-2566
P. 189
J Thai Trad Alt Med Vol. 21 No. 1 Jan-Apr 2023 169
arginine-vasopressin มีบทบาทต่อการควบคุม ผลการศึกษาเหล่านี้ แสดงให้เห็นว่าการนวดรักษา
ระดับสารน�้าในร่างการรวมถึงปรับสมดุลของระดับ สามารถลดระดับความอ่อนเพลียและอาการเจ็บปวด
ความดันโลหิตของร่างกาย จากการศึกษาจะพบว่า ในกลุ่มทดลองได้อย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติ นอกจาก
ผู้ป่วยโควิด-19 จะมีระดับ arginine-vasopressin นี้ ยังมีการศึกษาที่ยืนยันว่า การนวดช่วยลดอาการ
ที่สูงกว่าบุคคลปกติและน�ามาซึ่งความรุนแรงของ ปวดข้อและเพิ่มพิสัยการเคลื่อนไหวของข้อได้อย่าง
โควิด-19 และกลุ่มอาการลองโควิด เช่น ไข้ อาการปวด มีประสิทธิภาพ เช่น การศึกษาผลของการนวดแผน
ตามร่างกาย ภาวะของเหลวในร่างกายพร่อง ภาวะขาด ไทยในผู้ป่วยกลุ่มอาการปวดหลังส่วนล่าง (low back
[49]
[41]
น�้า ภาวะความดันโลหิตสูง และภาวะเครียด เป็นต้น pain) และการศึกษาผลของการนวดในกลุ่มผู้ป่วย
[50]
เช่นเดียวกับฮอร์โมน cortisol ที่มีความส�าคัญต่อการ ข้อเข่าเสื่อม เป็นต้น
พยากรณ์โรคของโควิด-19 ซึ่งในกลุ่มผู้ป่วยโควิด-19 ผลของการนวดต่อระบบทางเดินหายใจ จาก
ที่มีอาการรุนแรงจะมีระดับฮอร์โมน cortisol ที่สูง การทบทวนการศึกษาที่ผ่านมา พบว่า มีการประยุกต์
[42]
นอกเหนือจากนั้น ผลจากการศึกษาในสัตว์ทดลอง ใช้การนวดในการเพิ่มประสิทธิภาพของการหายใจ
การนวดแบบสวีดิชยังส่งผลต่อระบบภูมิคุ้มกันและ ในกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรังต่าง ๆ เช่น โรคหอบหืด และ
กระบวนการอักเสบในด้านการเพิ่มระดับของเม็ด โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง (Chronic Obstructive Pul-
เลือดขาวชนิด lymphocyte และลดระดับของ cy- monary Disease: COPD) การนวดผู้ป่วยเด็กที่เป็น
tokine ได้แก่ IL-1β, IL-2, IL-4, IL-5, IL-6, IL-10, โรคหอบหืดก่อนนอนเป็นเวลา 20 นาที สามารถช่วย
IL-13, and IFN- γ [43] ลดความวิตก กังวล และช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการ
ท�างานของปอดผ่านการเพิ่มระดับของ Peak air flow
ผลของก�รนวดต่ออ�ก�รแสดงหลักที่พบได้ใน และ Forced Expiratory Volume (FEV) ได้ ใน
[51]
กลุ่มอ�ก�รลองโควิด กลุ่มผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง ผู้ป่วยที่ได้รับการ
กลุ่มอาการลองโควิด (Long COVID) ส่งผล นวดเป็นประจ�า 30 นาทีต่อวัน มีระดับของอาการ
กระทบต่อระบบร่างกายที่หลากหลาย ไม่จ�ากัดเฉพาะ หายใจล�าบากลดลงและสามารถใช้ชีวิตประจ�าวันได้
ระบบทางเดินหายใจ โดยอาการที่พบมากที่สุดคือ ดีขึ้น [52]
อาการอ่อนเพลียและปวดตามร่างกาย จากการศึกษา การนวดยังมีผลส่งเสริมสุขภาพด้านจิตใจ
ที่ผ่านมาพบว่า มีการประยุกต์ใช้การนวดรักษาในการ การศึกษาที่ผ่านมาแสดงให้เห็นว่าการนวดรักษา
ลดอาการอ่อนเพลียและอาการเจ็บปวดตามกล้าม ร่วมกับการพักผ่อนส่งผลให้กลุ่มเป้าหมายมีระดับ
เนื้อ ที่เป็นผลจากโรคต่าง ๆ ดังที่พบในการศึกษาใน ความเครียดที่ลดลงและมีระดับคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
กลุ่มทดลองที่เป็นผู้ป่วยโรคปลอกประสาทเสื่อมแข็ง โดยเฉพาะสุขภาพด้านจิตใจ มีการศึกษาผลของการ
[53]
(multiple sclerosis) ผู้ป่วยโรคมะเร็ง [45-46] ผู้ป่วย นวดในกลุ่มผู้ป่วยหลายกลุ่มที่มีปัญหาด้านสุขภาพจิต
[44]
โรคข้อกระดูกสันหลังอักเสบชนิดติดยึด (ankylos- และการนอนหลับ โดยเฉพาะในกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
ing spondylitis) รวมทั้งนักวิ่งมาราธอน ซึ่ง เช่น ผลของการนวดในกลุ่มผู้ป่วยในหออภิบาลผู้ป่วย
[47]
[48]